Factors affecting HIV-Infected patients intention in clinical trial participation
Issued Date
2014
Copyright Date
2014
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 103 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Health Administration))--Mahidol University, 2014
Suggested Citation
Siriwan Thitiphongpraphat Factors affecting HIV-Infected patients intention in clinical trial participation. Thesis (M.Sc. (Health Administration))--Mahidol University, 2014. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95163
Title
Factors affecting HIV-Infected patients intention in clinical trial participation
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิกในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี
Author(s)
Abstract
The number of clinical trials has been increasing dramatically in Asia due to several reasons. Many researchers have been discovering the reasons why some patients decide to participate in these trials, but there is not enough evidence that such an inquiry has been studied in the Thai population. This research was to identify factors affecting the intention of HIV-infected patients to participate in a clinical trial by using the Health Belief Model (HBM). A structured questionnaire was developed in accordance with the six major variables in the HBM. There were 280 patients aged between 18 - 60 years with asymptomatic HIV infection who presented at one academic hospital, Bangkok, Thailand during May to July 2013 who responded to the questionnaire. About 76.4% of the respondents decided to join the clinical trial study; whereas 23.6% refused to join. The logistic regression results show that education, perceived susceptibility, perceived benefits, perceived barriers, cues to action and self-efficacy were predicting factors of the intention to participate in the clinical trial.
จำนวนโครงการวิจัยทางคลินิกในแถบทวีปเอเชียมีจำนวนมากขึ้นอันเนื่องมาจากหลายสาเหตุ ปัจจุบันมีงานวิจัยมากมายที่กำลังศึกษาหาเหตุผลว่าทำไมผู้ป่วยถึงตัดสินใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิก แต่หลักฐานที่บ่งชี้ว่ามีการศึกษาวิจัยเหล่านี้ในประเทศไทยนั้นมีไม่เพียงพอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิกในผู้ติดเชื้อเอชไอวี โดยใช้กรอบแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการพัฒนาแบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วย 6 ตัวแปรหลักในแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ การวิจัยนี้ศึกษากับผู้ติดเชื้อเอชไอวีอายุระหว่าง 18 - 60 ปี ที่ยังไม่มีอาการแสดง จำนวน 280 ราย ณ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ผลการวิจัยพบว่าผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ตั้งใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิกร้อยละ 76.4 และปฏิเสธอีกร้อยละ 23.6 ผลสถิติการถดถอยโลจิสติกส์พบว่า ตัวแปรสำคัญที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิก ได้แก่ ระดับการศึกษา การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้สิ่งเร้า และการรับรู้ความสามารถของตนเอง
จำนวนโครงการวิจัยทางคลินิกในแถบทวีปเอเชียมีจำนวนมากขึ้นอันเนื่องมาจากหลายสาเหตุ ปัจจุบันมีงานวิจัยมากมายที่กำลังศึกษาหาเหตุผลว่าทำไมผู้ป่วยถึงตัดสินใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิก แต่หลักฐานที่บ่งชี้ว่ามีการศึกษาวิจัยเหล่านี้ในประเทศไทยนั้นมีไม่เพียงพอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิกในผู้ติดเชื้อเอชไอวี โดยใช้กรอบแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการพัฒนาแบบสอบถาม ซึ่งประกอบด้วย 6 ตัวแปรหลักในแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ การวิจัยนี้ศึกษากับผู้ติดเชื้อเอชไอวีอายุระหว่าง 18 - 60 ปี ที่ยังไม่มีอาการแสดง จำนวน 280 ราย ณ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ผลการวิจัยพบว่าผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ตั้งใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิกร้อยละ 76.4 และปฏิเสธอีกร้อยละ 23.6 ผลสถิติการถดถอยโลจิสติกส์พบว่า ตัวแปรสำคัญที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการวิจัยทางคลินิก ได้แก่ ระดับการศึกษา การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้สิ่งเร้า และการรับรู้ความสามารถของตนเอง
Description
Health Administration (Mahidol University 2014)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Health Administration
Degree Grantor(s)
Mahidol University