ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการการแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน
Issued Date
2565
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดล
Suggested Citation
กฤษณะ คตสุข, วัลลีรัตน พบคีรี, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, ปิ ยะธิดา ขจรชัยกุล (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการการแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98868
Title
ปัจจัยที่มีผลต่อความเชื่อมั่นในการใช้บริการการแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน
Alternative Title(s)
Factors influencing confidence in using Thai traditional medicine services at a Thai traditional and complementary medicine hospital.
Author's Affiliation
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ อความเชื่อมั่นในการใช้ บริการการแพทย์ แผนไทย ในโรงพยาบาลการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน กลุ่ มตัวอย่ างคือประชาชนที่มาใช้ บริการการแพทย์ แผนไทยในโรงพยาบาลการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ ผสมผสาน จำนวน 392 คน โดยใช้ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูลช่วงเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2564 การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้ สถิติเป นความถี่ ร้อยละ และหาความสัมพันธ์ โดยใช้ สถิติไคสแควร์
ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะทางประชากรของประชาชนที่มาใช้ บริการการแพทย์ แผนไทย พบว่ามากกว่าร้อยละ 50 เป็ นเพศหญิง อายุมากกว่ า 50 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพรับราชการ/พนักงานของรัฐ มีสถานภาพสมรส มีรายได้ เฉลี่ยต่ อเดือนระหว่าง 10,001 – 25,000 บาท ส่วนใหญ่ ไม่ มีโรคประจำตัว และสิทธิการรักษาพยาบาลส่วนใหญ่ เป็ นสิทธิข้าราชการ สำหรับระดับความรูู้ เจตคติ ความพึงพอใจ และระดับความเชื่อมั่นในการใช้ บริการการแพทย์ แผนไทย อยู่ ในระดับต่ำ-ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 58.7, 61.7, 60.2 และ 53.1 ตามลำดับ ส วนความสัมพันธ ระหว่างคุณลักษณะทางประชากร ระดับความรู้ เจตคติ และความพึงพอใจ กับระดับความเชื่อมั่นการใช้ บริการการแพทย์ แผนไทย พบว่า คุณลักษณะทางประชากรมีความสัมพันธ์ กับระดับความเชื่อมั่นในการใช้ บริการการแพทย์ แผนไทย (p-value < 0.05) ส วนระดับความรู้ เจตคติ และความพึงพอใจกับระดับความเชื่อมั่นในการใช้ บริการการแพทย์ แผนไทยมีความสัมพันธ์ กัน (p-value < 0.001) ข อเสนอแนะจากการวิจัย เห็นว่าผู้ บริหารควรเปิดโอกาสให้ประชาชนได้ เข้ามามีส่ วนร่ วมในการกำหนดเป้าหมายและทิศทางการบริการการแพทย์ แผนไทย และควรปรับปรุงระบบบริการการแพทย แผนไทยอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ ประชาชนเกิดความเชื่อมั่น ไว้ วางใจ ต่อการมาใช้ บริการการแพทย์ แผนไทยต่ อไป
This research aims to study factors that affect confidence in using Thai traditional medicine services at a Thai traditional and complementary medicine hospital. The sample group is 392 people who come to use Thai traditional medicine services at Thai traditional and complementary medicine hospital. The research uses questionnaire to collect data during July and September 2021. Analysis of data deploys statistics such as frequency and percent. The relationship is analyzed using Chi-Square. The results show that most people who come to use Thai traditional medicine services are females over the age of 50, who graduated with a bachelor’s degree, married, and work for the government. They earn between 10,001 and 25,000 Baht per month, have no underlying sickness, and utilize the government officer scheme. In terms of knowledge, attitude, satisfaction and confidence in using Thai traditional medicine services are at low-moderate level that accounted for 58.7%, 61.7%, 60.2%, and 53.1%, respectively. Demographic characteristics correlate with confidence in using Thai traditional medicine services (p-value < 0.05). Level of knowledge, attitude, and satisfaction correlate with confidence in using Thai traditional medicine services (p-value < 0.001). Due to research results, executives should allow people to participate in indicating goals and directions of Thai traditional medicine services. Services of Thai traditional medicine should be improved regularly to create confidence and trust in Thai traditional medicine services
This research aims to study factors that affect confidence in using Thai traditional medicine services at a Thai traditional and complementary medicine hospital. The sample group is 392 people who come to use Thai traditional medicine services at Thai traditional and complementary medicine hospital. The research uses questionnaire to collect data during July and September 2021. Analysis of data deploys statistics such as frequency and percent. The relationship is analyzed using Chi-Square. The results show that most people who come to use Thai traditional medicine services are females over the age of 50, who graduated with a bachelor’s degree, married, and work for the government. They earn between 10,001 and 25,000 Baht per month, have no underlying sickness, and utilize the government officer scheme. In terms of knowledge, attitude, satisfaction and confidence in using Thai traditional medicine services are at low-moderate level that accounted for 58.7%, 61.7%, 60.2%, and 53.1%, respectively. Demographic characteristics correlate with confidence in using Thai traditional medicine services (p-value < 0.05). Level of knowledge, attitude, and satisfaction correlate with confidence in using Thai traditional medicine services (p-value < 0.001). Due to research results, executives should allow people to participate in indicating goals and directions of Thai traditional medicine services. Services of Thai traditional medicine should be improved regularly to create confidence and trust in Thai traditional medicine services
Description
การประชุมวิชาการประจำปีศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก ครั้งที่ 10 ประจำปี 2565 หัวข้อ “ก้าวผ่านวิกฤตโควิดกับระบบสุขภาพวิถีใหม่” (Achieving the Closest to Pre-COVID19 with New Normal Practice) (ผ่านระบบออนไลน์ ZOOM Meeting). 30 มีนาคม 2565- 1 เมษายน 2565. หน้า 79-95