Factors related to death from dengue fever in Thailand
Issued Date
2024
Copyright Date
2020
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 48 leaves: ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thematic Paper (M.P.H. (Public Health))--Mahidol University, 2020
Suggested Citation
Nilubon Karavanonth Factors related to death from dengue fever in Thailand. Thematic Paper (M.P.H. (Public Health))--Mahidol University, 2020. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99402
Title
Factors related to death from dengue fever in Thailand
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Dengue fever is a public health problem in many countries around the world and it is a communicable disease that must be monitored according to the Communicable Disease Act 2015 and the Ministry of Public Health did not want to have deaths from dengue fever in Thailand. The situation showed that in 2015 there were 154 dengue deaths and case fatality rate was 0.11%. In 2018, the case fatality rate was 0.13%. In 2020, There will be an opportunity for the outbreak continue spread besides, nearly 182 people will die from dengue infection. This study was a matched case-control study to compare the factors that caused dengue death and those who did not die by using data from the epidemiological surveillance system (R 506) and Event-based program from 1 January 2015 - 31 December 2019 to analyze factors related to death from dengue fever in Thailand. The data were analyzed by Descriptive statistics and Inferential Statistics. The samples were aged between 2-51 years old. 90.91% of the sample were not performed tourniquet test. Patients who received the first treatment after the onset of symptoms for 8 days are more likely to have a higher chance of death than who have the symptoms for 3 days and patients with dengue type 2 infection are more likely to have a higher chance of death than patients with dengue type 1 infection. IMPLICATION OF THESIS. In Thailand, there are a number of patients died from dengue fever, of which this study will be useful for prevention strategies, and could be reduced the rate of dengue death in Thailand
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลก และเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ ปี พ.ศ.2558 ซึ่งเป็นโรคสำคัญที่กระทรวงสาธารณสุขไม่ต้องการให้มีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออก จากสถานการณ์พบว่าในปี พ.ศ. 2558 มีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกจำนวน 154 ราย อัตราผู้ป่วยตาย ร้อยละ 0.11 และ ปี พ.ศ. 2561 อัตราป่วยตายสูงสุดคิดเป็นร้อยละ 0.13 และจากการพยากรณ์พบว่า ปี พ.ศ. 2563 มีโอกาสเกิดการะบาดต่อเนื่อง และคาดว่าจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกประมาณ 182 ราย ซึ่งการศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบมีกลุ่มควบคุม โดยศึกษาข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่ถูกรายงานมายังระบบเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยาหรือโปรแกรมแจ้งข่าวการระบาด ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 โดยมีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเชิงอนุมาน จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุตั้งแต่ 2-51 ปี ผู้ป่วยร้อยละ 90.91 ไม่ได้รับการทำ Tourniquet Test และพบว่าผู้ป่วยที่มารับการรักษาครั้งแรกหลังจากเริ่มมีอาการตั้งแต่ 8 วันขึ้นไปมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าผู้ที่มารับการรักษาไม่เกิน 3 วัน และผู้ป่วยที่ป่วยจากการติดเชื้อแดงกี่ชนิดที่ 2 มีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าผู้ที่ป่วยจากการติดเชื้อแดงกี่ชนิดที่ 1 การนำผลของวิทยานิพนธ์ไปใช้ ในประเทศไทยยังคงมีผู้เสียชีวิตจากไข้เลือดออกทุกปี ซึ่งคาดว่าการวิจัยครั้งนี้จะสามารถนำผลการวิจัยไปใช้สาหรับการป้องกันและลดจานวนผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยได้
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลก และเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ ปี พ.ศ.2558 ซึ่งเป็นโรคสำคัญที่กระทรวงสาธารณสุขไม่ต้องการให้มีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออก จากสถานการณ์พบว่าในปี พ.ศ. 2558 มีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกจำนวน 154 ราย อัตราผู้ป่วยตาย ร้อยละ 0.11 และ ปี พ.ศ. 2561 อัตราป่วยตายสูงสุดคิดเป็นร้อยละ 0.13 และจากการพยากรณ์พบว่า ปี พ.ศ. 2563 มีโอกาสเกิดการะบาดต่อเนื่อง และคาดว่าจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกประมาณ 182 ราย ซึ่งการศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบมีกลุ่มควบคุม โดยศึกษาข้อมูลทุติยภูมิของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่ถูกรายงานมายังระบบเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยาหรือโปรแกรมแจ้งข่าวการระบาด ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562 โดยมีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และเชิงอนุมาน จากการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุตั้งแต่ 2-51 ปี ผู้ป่วยร้อยละ 90.91 ไม่ได้รับการทำ Tourniquet Test และพบว่าผู้ป่วยที่มารับการรักษาครั้งแรกหลังจากเริ่มมีอาการตั้งแต่ 8 วันขึ้นไปมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าผู้ที่มารับการรักษาไม่เกิน 3 วัน และผู้ป่วยที่ป่วยจากการติดเชื้อแดงกี่ชนิดที่ 2 มีโอกาสเสียชีวิตมากกว่าผู้ที่ป่วยจากการติดเชื้อแดงกี่ชนิดที่ 1 การนำผลของวิทยานิพนธ์ไปใช้ ในประเทศไทยยังคงมีผู้เสียชีวิตจากไข้เลือดออกทุกปี ซึ่งคาดว่าการวิจัยครั้งนี้จะสามารถนำผลการวิจัยไปใช้สาหรับการป้องกันและลดจานวนผู้เสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกในประเทศไทยได้
Description
Public Health (Mahidol University 2020)
Degree Name
Master of Public Health
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Public Health
Degree Grantor(s)
Mahidol University