การรับรู้คุณภาพการบริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกของผู้มาใช้บริการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลราชบุรี

dc.contributor.advisorยุวนุช สัตยสมบูรณ์
dc.contributor.advisorภูษิตา อินทรประสงค์
dc.contributor.authorจุฑามาส กุลศัตยาภิรมย์
dc.date.accessioned2024-01-05T02:02:43Z
dc.date.available2024-01-05T02:02:43Z
dc.date.copyright2562
dc.date.created2562
dc.date.issued2567
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2562)
dc.description.abstractคุณภาพบริการเป็นตัวชี้วัดการจัดบริการสุขภาพ การวิจัยเชิงอรรถาธิบายแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้คุณภาพการบริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ของผู้มาใช้บริการ โรงพยาบาลราชบุรี เก็บข้อมูลจากผู้ใช้บริการจำนวน 397 คน (99.25%) ช่วงเดือน สิงหาคมถึงกันยายนพ.ศ.2560 โดยแบบสอบถามแบบตอบด้วยตนเอง ใช้สถิติทดสอบ Student T- Test, One - Way ANOVA และการถดถอยพหุ ผลการวิจัย พบว่า ภาพรวมการรับรู้คุณภาพการบริการของผู้มาใช้บริการ อยู่ในระดับสูงมาก (M=6.16±0.642) รายด้านทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับสูงมาก สูงที่สุดคือ ด้านการทำให้มั่นใจ (M=6.27) รองลงมาด้านการตอบสนองความต้องการ (M=6.18) ปัจจัยที่อธิบายความผันแปรของการรับรู้คุณภาพการบริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกของผู้มาใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pvalue< 0.05) มี 8 ปัจจัยคือ ผลการรักษาครั้งที่ผ่านมา ความมั่นใจการรักษาของแพทย์ ความรวดเร็วในการบริการ มีสิ่งอำนวยความสะดวก การสื่อสารปากต่อปากจากบุคคลในครอบครัว ความสะดวกในการเดินทาง ภูมิลำเนา และ มีสิทธิ์การรักษา โดยสามารถร่วมกันอธิบายการรับรู้คุณภาพบริการได้ร้อยละ 22.8 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยนี้สำหรับผู้บริหารควรกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการบริการทุกด้านอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นเพิ่มการเอาใจใส่ และความน่าเชื่อถือของบริการ
dc.description.abstractQuality of service is a challenge to hospital management in this era. This explanatory cross-sectional study aims to assess the factors associated with customers' perception service quality of Thai traditional and alternative medicine department in the Ratchaburi hospital. A sample of 397 patients (99.25%) who had used the services during last 6 months was selected by simple random sampling method. Data were collected using a self-administered questionnaire that included 45 items. For data analysis, independent t-test. One-way ANOVA and multiple liner regression were used to identify associated factors and predictors. The results revealed that the service quality was at a very high level (Mean = 6.16?0.642). There were the eight positive significant factors that could predict the customers' perception service of quality (p-value < 0.001), and they were the predictors that could jointly explain the 22.8% variance in the customers' perception of service quality. (R2 Adjusted = 0.228, p-value < 0.001). In summary, this study recommends that hospital administrators consider the policy of improving the service quality concerning empathy and reliability.
dc.format.extentก-ญ, 156 แผ่น : ภาพประกอบ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2562
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91950
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectการบริการ -- การแพทย์แผนไทย
dc.subjectบริการลูกค้า -- ไทย -- ราชบุรี
dc.titleการรับรู้คุณภาพการบริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกของผู้มาใช้บริการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลราชบุรี
dc.title.alternativeCustomer's perception of Thai traditional and alternative medicine department's service quality in Ratchaburi Hospital
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/546/5738262.pdf
thesis.degree.departmentคณะสาธารณสุขศาสตร์
thesis.degree.disciplineสาธารณสุขศาสตร์
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Files