The frictional force learning module based on hands-on and interactive lecture demonstration approaches
Issued Date
2023
Copyright Date
2012
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viv, 141 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Singha Prasitpong The frictional force learning module based on hands-on and interactive lecture demonstration approaches. Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89491
Title
The frictional force learning module based on hands-on and interactive lecture demonstration approaches
Alternative Title(s)
ชุดการเรียนรู้เรื่องแรงเสียดทานโดยอาศัยการเรียนรู้แบบลงมือทำและการบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการสร้างชุดการเรียนการสอนเรื่องแรงเสียดทาน เพื่อเพิ่มความเข้าใจของนักเรียนไทยในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่สี่ เริ่มต้นจากการศึกษาสาระสำคัญเรื่องแรงเสียดทานในระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่สี่ จากนั้นสร้างคำถามปลายเปิดเพื่อสำรวจความเข้าใจของนักเรียนเกี่ยวกับแนวคิดหลักของแรงเสียดทาน คำถามนี้ใช้เก็บข้อมูลกับนักเรียนจำนวน 241 คน และพบความเข้าใจผิดของนักเรียนไทยในแนวคิดหลักของทิศทางของแรงเสียดทาน ชนิดของแรงเสียดทาน และปัจจัยที่ส่งผลต่อขนาดของแรงเสียดทานไถล นำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ประกอบการสร้างและพัฒนาชุดการเรียนการสอนเรื่องแรงเสียดทานได้แก่ แบบสำรวจความเข้าใจเรื่องแรงเสียดทาน แผนการสอนโดยอาศัยรูปแบบกระบวนการเรียนการสอนแบบลงมือทำ(Hands-On)และการบรรยายประกอบการสาธิตเชิงปฏิสัมพันธ์ (ILDs) ชุดสาธิตทิศของแรงเสียดทาน ชุดสาธิตชนิดของแรงเสียดทานและชุดสาธิตปัจจัยที่ส่งผลต่อขนาดของแรงเสียดทาน รวมทั้งใบงานประกอบการเรียนเรื่องแรงเสียดทาน ชุดการเรียนการสอนเหล่านี้ได้รับการประเมินจากทั้งผู้เชี่ยวชาญ และการนำไปทดลองใช้กับนักเรียน 63 คน เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการนำชุดการเรียนการสอนนี้ไปใช้สอนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่สี่จำนวน 293 คน เพื่อประเมินคุณภาพ จากการประเมินความเข้าใจด้านเนื้อหาและความพึงพอใจของนักเรียนต่อชุดการเรียนการสอน พบว่า การสอนโดยใช้ชุดการเรียนการสอนที่สร้างขึ้นนี้ ทำให้นักเรียนมีการเรียนรู้เพิ่มขึ้นในระดับปานกลาง (<g> = 0.61) และนักเรียนกว่า 85 เปอร์เซนต์เห็นด้วยว่าชุดการเรียนการสอนนี้ช่วยให้เข้าใจเรื่องแรงเสียดทานเพิ่มขึ้น
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Institute for Innovative Learning
Degree Discipline
Science and Technology Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University