Implementation of eco-efficiency for the development of eco-agro-tourism at Farm Chokchai
Issued Date
2012
Copyright Date
2012
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 139 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Industrial Ecology and Environment))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Poonperm Vardhanabindu Implementation of eco-efficiency for the development of eco-agro-tourism at Farm Chokchai. Thesis (M.Sc. (Industrial Ecology and Environment))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95010
Title
Implementation of eco-efficiency for the development of eco-agro-tourism at Farm Chokchai
Alternative Title(s)
การบูรณาการการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเศรฐกิจ ณ ฟาร์มโชคชัย
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Agro-tourism is an alternative type of tourism which makes use of agricultural sites and activities. The amount of agro-tourism investment has been increasing due to concerns of tourists about agriculture and the environment. Enhancing the ability of this type of tourism to be both profitable and environmentalfriendly, eco-efficiency measurement was conducted. Farm Chokchai, considered as an agro-tourism site, was the case study of the eco-efficiency measurement to further develop it to be an eco-agro-tour. Indicators for the measurement included environmental influences which were energy, material, water, solid waste, and greenhouse gas emission. Economic values, including net sales and numbers of tourists, were set for the calculations. Activities were specifically allocated for the effectiveness of the measurement. The outcome of the study could be useful for the practice of agro-tourism by these service providers and other types of tourism service providers in order to operate in a proper direction of eco-tourism and enhance the capability of reaching the goal of sustainable tourism.
การท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นการท่องเที่ยวทางเลือกที่มีการนำกิจกรรมทางการเกษตรมาปรับใช้ให้เป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว ในปัจจุบันนี้ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้รับความนิยมมากขึ้นจากแต่ก่อนเนื่องจากความตระหนักของนักท่องเที่ยวต่อเกษตรกรรมและสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการที่จะส่งเสริมให้การท่องเที่ยวรูปแบบนี้ให้มีผลกำไรควบคู่ไปกับการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนั้นจึงมีการนำหลักการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจมาใช้ ฟาร์มโชคชัย ในฐานะที่เป็นธุรกิจแนวหน้าเรื่องการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จึงถูกเลือกเพื่อมาเป็นกรณีศึกษาในการนำหลักประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจมาใช้เพื่อพัฒนำไปสู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศเศรษฐกิจ ในการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจในงานศึกษานี้ ได้มีการนำตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งประกอบไปด้วย พลังงาน วัสดุสิ้นเปลือง น้ำ กากของเสีย และก๊าซเรือนกระจก มาประเมินควบคู่ไปกับตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจ คือ รายได้สุทธิ และจำนวนนักท่องเที่ยว การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ตามตัวชี้วัดจากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในกรณีศึกษาจะถูกนำมาปันส่วนเพื่อประสิทธิภาพของการประเมินที่สูงสุด โดยผลจากการประเมินนั้นจะนำไปสู่การวางนโยบายของธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตรอีกทั้งยังสามารถนำไปบูรณาการเพื่อปรับใช้ในธุรกิจการท่องเที่ยวในรูปแบบอื่นได้อีกด้วย อนึ่ง การนำหลักการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจนี้จะนำไปสู่การพัฒนำรูปแบบการท่องเที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนต่อไป
การท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็นการท่องเที่ยวทางเลือกที่มีการนำกิจกรรมทางการเกษตรมาปรับใช้ให้เป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว ในปัจจุบันนี้ การท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้รับความนิยมมากขึ้นจากแต่ก่อนเนื่องจากความตระหนักของนักท่องเที่ยวต่อเกษตรกรรมและสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการที่จะส่งเสริมให้การท่องเที่ยวรูปแบบนี้ให้มีผลกำไรควบคู่ไปกับการเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนั้นจึงมีการนำหลักการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจมาใช้ ฟาร์มโชคชัย ในฐานะที่เป็นธุรกิจแนวหน้าเรื่องการท่องเที่ยวเชิงเกษตร จึงถูกเลือกเพื่อมาเป็นกรณีศึกษาในการนำหลักประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจมาใช้เพื่อพัฒนำไปสู่การท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศเศรษฐกิจ ในการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจในงานศึกษานี้ ได้มีการนำตัวชี้วัดด้านสิ่งแวดล้อมซึ่งประกอบไปด้วย พลังงาน วัสดุสิ้นเปลือง น้ำ กากของเสีย และก๊าซเรือนกระจก มาประเมินควบคู่ไปกับตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจ คือ รายได้สุทธิ และจำนวนนักท่องเที่ยว การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ตามตัวชี้วัดจากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในกรณีศึกษาจะถูกนำมาปันส่วนเพื่อประสิทธิภาพของการประเมินที่สูงสุด โดยผลจากการประเมินนั้นจะนำไปสู่การวางนโยบายของธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตรอีกทั้งยังสามารถนำไปบูรณาการเพื่อปรับใช้ในธุรกิจการท่องเที่ยวในรูปแบบอื่นได้อีกด้วย อนึ่ง การนำหลักการประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจนี้จะนำไปสู่การพัฒนำรูปแบบการท่องเที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนต่อไป
Description
Industrial Ecology and Environment (Mahidol University 2012)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Environment and Resource Studies
Degree Discipline
Industrial Ecology and Environment
Degree Grantor(s)
Mahidol University