วิธีการสอนด้านปฏิบัติจังหวะที่สอนโดยครูสองวงโยธวาทิตโรงเรียนมัธยมศึกษากลุ่มสหวิทยาเขตปิยมิตร

dc.contributor.advisorอนรรฆ จรัณยานนท์
dc.contributor.advisorณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์
dc.contributor.authorเกษมวุฒิ มังคลาด
dc.date.accessioned2024-01-15T04:07:41Z
dc.date.available2024-01-15T04:07:41Z
dc.date.copyright2559
dc.date.created2567
dc.date.issued2559
dc.descriptionดนตรีศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2559)
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการสอนด้านการปฏิบัติจังหวะที่สอนโดยครูสอนวงโยธวาทิตโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มสหวิทยาเขตปิยมิตร กระบวนการวิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกอย่างเป็นทางการสาหรับกลุ่มตัวอย่างเป็นครูสอนวงโยธวาทิตโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มสหวิทยาเขตปิยมิตร จานวน 5 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า วิธีการสอนด้านปฏิบัติจังหวะที่สอนโดยครูสอนวงโยธวาทิต มีขั้นตอนการสอน 4 ขั้นตอน คือ (1) การวางแผนกาหนดขั้นตอนปัญหาและอุปสรรคของนักเรียน (2) การแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีปัญหาในเรื่องของการปฏิบัติจังหวะ (3) การนาความรู้ไปใช้ในเทคนิคการสอนและการฝึกซ้อม (4) การศึกษาเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน จากการศึกษาผู้วิจัยยังได้ค้นพบวิธีการสอนด้านการปฏิบัติจังหวะ 4 รูปแบบ (1) รูปแบบควบคู่ (2) รูปแบบกลุ่มผู้นา (3) รูปแบบจูงใจ (4) รูปแบบกิจกรรม ผลการวิจัยสามารถช่วยเพิ่มทางเลือกใหม่ให้กับครูผู้สอนในการฝึกปฏิบัติจังหวะ และสามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหาในการฝึกปฏิบัติจังหวะของนักเรียนวงโยธวาทิต
dc.description.abstractThis qualitative research aimed to study the rhythmic training method of marching band instructors in Piyamity Secondary School Group, Bangkok, Thailand. The researcher collected the data using the formal detailed interview from five marching band instructors in Piyamity Secondary School Group. The qualitative data analysis were used in analyzing the contents. It was found that there were 4 procedures of the rhythmic training method of marching band instructors: (1) Planning and determining the problems and obstacles of the students, (2) Solving the students' problem about rhythmic training, (3) Applying knowledge about teaching and training techniques, and (4) Learning outside the classroom. Furthermore, the researcher found 4 styles of rhythmic training method: (1) Couple style, (2) Leader group style, (3) Persuasive style, and (4) Activity style. The results of the research would help the band instructors use new alternatives of rhythmic training method. Moreover, these new alternatives could help solve the problems in the rhythmic training of the students in the marching band.
dc.format.extentก-ฏ, 73 แผ่น : ภาพประกอบ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationสารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรีศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92771
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectวงดนตรีโยธวาทิต
dc.subjectจังหวะ
dc.titleวิธีการสอนด้านปฏิบัติจังหวะที่สอนโดยครูสองวงโยธวาทิตโรงเรียนมัธยมศึกษากลุ่มสหวิทยาเขตปิยมิตร
dc.title.alternativeRhythmic training method of marching band instructors in Piyamity Secondary School Group, Bangkok, Thailand
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd514/5738586.pdf
thesis.degree.departmentวิทยาลัยดุริยางคศิลป์
thesis.degree.disciplineดนตรีศึกษา
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files