The effect of cannibalism on a structured predator-prey system
Issued Date
2001
Copyright Date
2001
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 97 leaves
ISBN
9746656384
9789746656382
9789746656382
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Applied Mathematics))--Mahidol University, 2001
Suggested Citation
Chompit Kaewmanee The effect of cannibalism on a structured predator-prey system. Thesis (M.Sc. (Applied Mathematics))--Mahidol University, 2001. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94797
Title
The effect of cannibalism on a structured predator-prey system
Alternative Title(s)
ผลกระทบของการกินกันเองในระบบของผู้ล่า-เหยื่อ
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Cannibalism has been observed in a great variety of species. Depending on the model used, cannibalism can have either a stabilizing or destabilizing effect on the population. This study looks at the oscillation in a structured predator-prey system when the level of cannibalism is varied. The dynamics of a predator-prey system, where the predator has two stages, a juvenile stage and adult stage, were modeled by a system of three ordinary first order differential equations. There was only inter-class cannibalism, that is the adult cannibalized only on juveniles. Both the analytical and numerical methods showed that the predator-prey system with a low level of cannibalism has a stable equilibrium point which is a stable spiral point. A loss of stability by a Hopf Bifurcation will occur as the level of cannibalism increases, going to a stable limit cycle. This point is that cannibalism is found to have a destabilizing effect on a predator-prey system. The model presented here is a strategic model to enhance the understanding of the dynamic effect of cannibalism in large models.
ภาวะการกินกันเองได้ถูกศึกษาอย่างมากมายในสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดและสามารถ ทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เสถียรหรือไม่เสถียรต่อประชากรได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับแบบจำลองที่นำ ไปศึกษาในการศึกษานี้ ได้ศึกษาถึงแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบผู้ล่า-เหยื่อ ซึ่งอธิบาย ด้วยระบบสมการอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับที่หนึ่ง 3 สมการ โดยที่ช่วงอายุของผู้ล่าได้ถูก แบ่งออกเป็น 2 ช่วงอายุ คือ ช่วงตัวอ่อน และ ช่วงตัวเต็มวัย ผู้ล่าจะมีการกินกันเอง โดยที่ตัวเต็มวัยจะดำรงชีวิตด้วยการกินตัวอ่อนเป็นอาหาร จากการวิเคราะห์โดยใช้ทฤษฎี Hopf Bifurcation และระเบียบวิธีเชิงตัวเลข แสดงให้เห็นว่า ระบบของผู้ล่า-เหยื่อ จะมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อระดับของการกินกันเองมี การเปลี่ยนแปลงนั่นคือ เมื่อภาวะการกินกันเองมีระดับต่ำ ระบบจะเข้าสู่สภาวะสมดุล แต่ ถ้าภาวะการกินกันเองมีระดับที่สูงขึ้น ระบบจะสูญเสียสภาวะที่สมดุลและเกิดลิมิตไซเคิล ขึ้นได้ แบบจำลองที่นำเสนอนี้ คือ ยุทธวิธีทางแบบจำลองเพื่อส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจถึง ผลกระทบเชิงพลวัตที่เกิดขึ้นในระบบซึ่งมีภาวะการกินกันเองที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
ภาวะการกินกันเองได้ถูกศึกษาอย่างมากมายในสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดและสามารถ ทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เสถียรหรือไม่เสถียรต่อประชากรได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับแบบจำลองที่นำ ไปศึกษาในการศึกษานี้ ได้ศึกษาถึงแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบผู้ล่า-เหยื่อ ซึ่งอธิบาย ด้วยระบบสมการอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับที่หนึ่ง 3 สมการ โดยที่ช่วงอายุของผู้ล่าได้ถูก แบ่งออกเป็น 2 ช่วงอายุ คือ ช่วงตัวอ่อน และ ช่วงตัวเต็มวัย ผู้ล่าจะมีการกินกันเอง โดยที่ตัวเต็มวัยจะดำรงชีวิตด้วยการกินตัวอ่อนเป็นอาหาร จากการวิเคราะห์โดยใช้ทฤษฎี Hopf Bifurcation และระเบียบวิธีเชิงตัวเลข แสดงให้เห็นว่า ระบบของผู้ล่า-เหยื่อ จะมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อระดับของการกินกันเองมี การเปลี่ยนแปลงนั่นคือ เมื่อภาวะการกินกันเองมีระดับต่ำ ระบบจะเข้าสู่สภาวะสมดุล แต่ ถ้าภาวะการกินกันเองมีระดับที่สูงขึ้น ระบบจะสูญเสียสภาวะที่สมดุลและเกิดลิมิตไซเคิล ขึ้นได้ แบบจำลองที่นำเสนอนี้ คือ ยุทธวิธีทางแบบจำลองเพื่อส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจถึง ผลกระทบเชิงพลวัตที่เกิดขึ้นในระบบซึ่งมีภาวะการกินกันเองที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
Description
Applied Mathematics (Mahidol University 2001)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Applied Mathematics
Degree Grantor(s)
Mahidol University