Effectiveness of the malaria control program in malaria-endemic provinces under the Global Fund Project, Thailand
Issued Date
2013
Copyright Date
2013
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 73 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2013
Suggested Citation
Chamnan Pinna Effectiveness of the malaria control program in malaria-endemic provinces under the Global Fund Project, Thailand. Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2013. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95252
Title
Effectiveness of the malaria control program in malaria-endemic provinces under the Global Fund Project, Thailand
Alternative Title(s)
ประสิทธิผลของการควบคุมโรคมาลาเรียในจังหวัดพื้นที่แพร่เชื้อภายใต้โครงการกองทุนโลก
Author(s)
Abstract
An evaluation study was conducted to evaluate the Global Fund Round 7 project. The aim of this study was to assess the effectiveness of the project by comparison the Annual Parasite Incidence (API) and the Malaria Positive Rate (MPR) of 460 malaria-endemic villages. The APIs/MPRs were compared between year 2 (2010) and year 3 (2011). They were separately described by provinces, by the international borders, and overall country. In addition, data were collected by using a questionnaire to ask the health officers who were responsible for the targeted villages. The questionnaire asked about the cooperation of community in terms of malaria prevention and control to determine the correlation with the successful villages. The results showed that the APIs decreased significantly in four of twentyeight provinces; Tak, Kanchanaburi, Ratchaburi, and Surin. The APIs in Thai- Myanmar and Thai-Cambodia borders were significantly decreasing. Moreover, the API of overall country was significant decreased (p=0.044). For the MPRs, the comparison showed that the MPRs in all levels (provinces, international borders, and overall country) were not significantly decreasing. The relationship between the cooperation of the community and the successful villages were not found significantly.
การศึกษานี้เป็นการวิจัยประเมินผลโครงการกองทุนโลกด้านมาลาเรีย รอบที่ 7 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่ออศึกษาประสิทธิผลของโครงการ โดยใช้วิธีการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงอัตราป่วย (Annual Parasite Incidence) และอัตราตรวจพบเชื้อมาลาเรีย (Malaria Positive Rate) ในทุก หมู่บ้านพื้นที่แพร่เชื้อมาลาเรียที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 460 แห่ง การเปรียบเทียบมี 2 วิธี คือวิธี แรกการเปรียบเทียบระหว่างอัตราป่วยและอัตราตรวจพบเชื้อมาลาเรียของปีที่ 2 (พ.ศ. 2553) และปีที่ 3 (พ.ศ. 2554) วิธีที่สองคือการเปรียบเทียบระหว่างอัตราป่วยและอัตราตรวจพบเชื้อมาลาเรียของปีที่ 3 กับเป้าหมายโครงการ โดยแยกอธิบายเป็นรายจังหวัด รายกลุ่มจังหวัดพื้นที่ติดชายแดน และใน ภาพรวมของประเทศ นอกจากนี้ยังได้เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเพื่ออสอบถามเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบดูแลหมู่บ้านโครงการถึงความร่วมมือของชุมชนในการร่วมดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคมาลาเรียเพื่อหาความสัมพันธ์กับผลสำเร็จที่หมู่บ้านนั้นสามารถลดอัตราป่วยได้ตามเป้าหมาย ผลการศึกษาพบว่า อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลงจำนวน 4 จังหวัดในจำนวน ทั้งหมด 28 จังหวัดได้แก่ จังหวดัตาก กาญจนบุรี ราชบุรี และสุรินทร์ ส่วนในกลุ่มจังหวัด 5 กลุ่ม มี กลุ่มจังหวัดที่ติดชายแดนไทย-เมียนมาร์ และ ชายแดนไทย-กัมพูชา มีอัตราป่วยลดลง และใน ภาพรวมของประเทศมีอัตราป่วยลดลง (p = 0.044) ส่วนผลการศึกษาอัตราตรวจพบเชื้อมาลาเรีย พบว่าทั้งการเปรียบเทียบรายจังหวัด รายกลุ่มจังหวัด และภาพรวมทั้งประเทศ อัตราตรวจพบเชื้อ มาลาเรียไม่ได้ลดลง ในส่วนของการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างความร่วมมือของชุมชนในการ ป้องกันควบคุมโรคมาลาเรีย กับผลสำเร็จในการลดอัตราป่วย ก็ไม่พบความสัมพันธ์
การศึกษานี้เป็นการวิจัยประเมินผลโครงการกองทุนโลกด้านมาลาเรีย รอบที่ 7 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่ออศึกษาประสิทธิผลของโครงการ โดยใช้วิธีการเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงอัตราป่วย (Annual Parasite Incidence) และอัตราตรวจพบเชื้อมาลาเรีย (Malaria Positive Rate) ในทุก หมู่บ้านพื้นที่แพร่เชื้อมาลาเรียที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 460 แห่ง การเปรียบเทียบมี 2 วิธี คือวิธี แรกการเปรียบเทียบระหว่างอัตราป่วยและอัตราตรวจพบเชื้อมาลาเรียของปีที่ 2 (พ.ศ. 2553) และปีที่ 3 (พ.ศ. 2554) วิธีที่สองคือการเปรียบเทียบระหว่างอัตราป่วยและอัตราตรวจพบเชื้อมาลาเรียของปีที่ 3 กับเป้าหมายโครงการ โดยแยกอธิบายเป็นรายจังหวัด รายกลุ่มจังหวัดพื้นที่ติดชายแดน และใน ภาพรวมของประเทศ นอกจากนี้ยังได้เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเพื่ออสอบถามเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบดูแลหมู่บ้านโครงการถึงความร่วมมือของชุมชนในการร่วมดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคมาลาเรียเพื่อหาความสัมพันธ์กับผลสำเร็จที่หมู่บ้านนั้นสามารถลดอัตราป่วยได้ตามเป้าหมาย ผลการศึกษาพบว่า อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลงจำนวน 4 จังหวัดในจำนวน ทั้งหมด 28 จังหวัดได้แก่ จังหวดัตาก กาญจนบุรี ราชบุรี และสุรินทร์ ส่วนในกลุ่มจังหวัด 5 กลุ่ม มี กลุ่มจังหวัดที่ติดชายแดนไทย-เมียนมาร์ และ ชายแดนไทย-กัมพูชา มีอัตราป่วยลดลง และใน ภาพรวมของประเทศมีอัตราป่วยลดลง (p = 0.044) ส่วนผลการศึกษาอัตราตรวจพบเชื้อมาลาเรีย พบว่าทั้งการเปรียบเทียบรายจังหวัด รายกลุ่มจังหวัด และภาพรวมทั้งประเทศ อัตราตรวจพบเชื้อ มาลาเรียไม่ได้ลดลง ในส่วนของการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างความร่วมมือของชุมชนในการ ป้องกันควบคุมโรคมาลาเรีย กับผลสำเร็จในการลดอัตราป่วย ก็ไม่พบความสัมพันธ์
Description
Epidemiology (Mahidol University 2013)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Epidemiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University