The relationship between cyberbullying-specific coping strategies and internet self-efficacy among high school students

dc.contributor.advisorSirinadda Punyapas
dc.contributor.advisorThanayot Sumalrot
dc.contributor.authorTreepradab Utaisedtawat
dc.date.accessioned2024-01-10T01:27:09Z
dc.date.available2024-01-10T01:27:09Z
dc.date.copyright2020
dc.date.created2020
dc.date.issued2024
dc.descriptionClinical Psychology (Mahidol University 2020)
dc.description.abstractThe objectives of this study was to study the relationship between cyberbullying- specific coping strategies and internet self-efficacy among high school students. The materials include demographic questionnaire, cyberbullying behaviors questionnaire, Utrecht Coping List for Adolescents Cyberbullying-specific scale: Thai version, and ICT Self-efficacy Scale: Thai version. Participants were 158 high school students who have ever experienced cyberbullying as a perpetrator, victim, or bystander. Pearson's bivariate correlation was used to analyse the relationship between cyberbullying-specific coping strategies and internet self-efficacy. According to the findings, optimistic coping strategy was associated with internet self-efficacy overall (r=.254) and all three subscales including Privacy and Security (r=.296), Differentiation and Learning (r=.226) and Communication (r=.167). It was also found the relationship between palliative coping strategy and internet self-efficacy overall (r=.198), together with subscales of Privacy and security (r=.250) and Differentiation and Learning (r=.160). On the contrary, there was an nonsignificant correlation between other coping strategies and internet self-efficacy. Those students who used optimistic and palliative coping to deal with cyberbullying perceived themselves as more internet self-efficacy. Thus, it is important to encourage internet self-efficacy for adolescents which can help them to cope with cyberbullying in particular.
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดจากการถูกรังแกทางโลกไซเบอร์และการรับรู้ความสามารถทางอินเทอร์เน็ตในนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ปัจจัยภูมิหลัง แบบสอบถามพฤติกรรมการรังแกทางโลกไซเบอร์ Utrecht Coping List for Adolescents Cyberbullying-specific scale ฉบับภาษาไทย และ ICT Self-efficacy Scale ฉบับภาษาไทย กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตนปลายจำนวน 158 คนที่เคยมีประสบการณ์การรังแกทางโลกไซเบอร์ในฐานะผู้รังแก ผู้ถูกรังแก หรือผู้พบเห็นการรังแก โดยใช้การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดจากการถูกรังแกทางโลกไซเบอร์และการรับรู้ความสามารถทางอินเทอร์เน็ต ผลจากการวิจัย พบว่า การรับมือกับสถานการณ์แบบมองโลกในแง่ดีมีความสัมพันธ์กับ การรับรู้ความสามารถทางอินเทอร์เน็ตโดยรวม (r=.254, p=.198) และองค์ประกอบย่อยทั้งสาม ได้แก่ ความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัย (r=.296, p=.000) การแยกแยะและเรียนรู้ (r=.226, p=.004) และการสื่อสาร (r=.167, p=.036). นอกจากนี้ ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการรับมือกับสถานการณ์แบบบรรเทาความรู้สึกกับการรับรู้ความสามารถทางอินเทอร์เน็ตโดยรวม (r=.198, p=.012) และองค์ประกอบย่อยด้านความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัย (r=.250, p=.002) และ การแยกแยะและเรียนรู้ (r=.160, p=.045) อย่างไรก็ตาม งานวิจัยนี้ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างการรับมือกับสถานการณ์รูปแบบอื่นกับการรับรู้ความสามารถทางอินเทอร์เน็ต การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่านักเรียนที่ใช้การรับมือกับสถานการณ์แบบมองโลกในแง่ดีและแบบบรรเทาความรู้สึกจะรับรู้ความสามารถของตนเองในการใช้อินเทอร์เน็ตได้มากกว่า ดังนั้น การส่งเสริมให้เกิดการรับรู้ความสามารถทางอินเทอร์เน็ตในวัยรุ่นจึงเป็นสิ่งสำคัญในการช่วยให้รับมือกับการรังแกทางโลกไซเบอร์ได้
dc.format.extentix, 79 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2020
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92103
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectCyberbullying
dc.subjectBullying in schools
dc.subjectSchool children -- Mental health -- Thailand
dc.titleThe relationship between cyberbullying-specific coping strategies and internet self-efficacy among high school students
dc.title.alternativeความสัมพันธ์ระหว่างการรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดจากการถูกรังแกทางโลกไซเบอร์และการรับรู้ความสามารถทางอินเทอร์เน็ตในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2562/557/6037492.pdf
thesis.degree.departmentFaculty of Medicine Siriraj Hospital
thesis.degree.disciplineClinical Psychology
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files