ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลรามาธิบดี
Issued Date
2554
Copyright Date
2554
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ญ, 155 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
Suggested Citation
วีรญา ศิริจรรยาพงษ์ ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลรามาธิบดี. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93014
Title
ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลรามาธิบดี
Alternative Title(s)
Happiness in work of registered nurses in Inpatient Department, Ramathibodi Hospital
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความสุขในการทำงานของพยาบาล วิชาชีพโรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 305 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2556 - เมษายน 2556 ได้รับแบบสอบถามกลับที่มีความสมบูรณ์ 295 ฉบับ (ร้อยละ 97.7) แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไค-สแควร์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความคิดเห็นต่อความสุขในการทำงานโดยรวมอยู่ใน ระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 134.1) และรายด้านพบว่าด้านการเป็นที่ยอมรับมีค่าเฉลี่ยสูงสุด (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 35.8) รองลงมาคือ ด้านการติดต่อสัมพันธ์ (มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 34.0) ด้านความสำเร็จในงาน (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.4) และด้าน ความรัก- ในงานมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 31.9) นอกจากนี้ยังพบว่ามีความคิดเห็นเกี่ยวกับความยึดมั่น ผูกพันต่อองค์การอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 66.7) มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรยากาศจริยธรรมในงานอยู่ใน ระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 106.5) ในส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาและ ประสบการณ์การทำงานไม่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ส่วนความยึดมั่นผูกพัน ต่อองค์การและบรรยากาศจริยธรรมในงานมีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงาน (p<0.001) ปัจจัยที่ร่วมทำนาย ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ คือ บรรยากาศจริยธรรมในงานและความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ โดย สามารถร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 58.2 (R2=0.582) ดังนั้นผู้บริหารควรคงนโยบายส่งเสริมการทำงานอย่างมีความสุขโดยการสนับสนุนให้มีการจัด กิจกรรมที่แสดงความสามารถของพยาบาลเพื่อให้เกิดการยอมรับมากขึ้น ให้การชื่นชม ให้รางวัลในโอกาสต่าง ๆ เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการทำงาน อีกทั้งแนะแนวความก้าวหน้าทางวิชาชีพให้พยาบาลเห็น เพื่อเป็นแรง กระตุ้นในการปฏิบัติงาน มีการสนับสนุนการศึกษาต่อมากขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในองค์การมากขึ้น
This study was a survey research with the purpose of assessing the happiness of registered nurses in Ramathibodi Hospital. The sample size consisted of 305 registered nurses that work in the in-patient department of Ramathibodi Hospital. The study utilizes questionnaires as a tool in collecting data during March 2013 to April 2013. There was a set of 295 completed and returned questionnaires (97.7%). Data was analyzed by using descriptive statistics, standard deviation, Chi-square, Pearson's Correlation, and Multiple Correlation Coefficients. The study found that the sample size had a high level of happiness in work (mean = 134.1) and by aspects found that the acceptance had the highest mean (mean = 35.8) followed by connections (mean = 34.0), work achievement(mean = 32.4) and love of the work had the lowest mean (mean = 31.9). Furthermore, it was also found that both organizational commitment and attitude towards ethical climate were also at a high level (mean = 66.7, 106.5 respectively). Personal factors : age, marital status, educational level and work experience had no relation to happiness in work (p<0.001). Factors that contribute to the prediction of happiness in work of registered nurses were ethical climate and organizational commitment, which could co-predict 58.2% (R2 = 0.582) Therefore, administrations should maintain the policy that encourages happy working environment by supporting activities that promote nurses' achievement resulting in increased acceptance, by complimenting and by rewarding on various occasions as a means to increase working morale. Moreover, they should also provide guidance in professional development for the nurses as a stimulant in the operation and encourage further education to increase work efficiency in the organization.
This study was a survey research with the purpose of assessing the happiness of registered nurses in Ramathibodi Hospital. The sample size consisted of 305 registered nurses that work in the in-patient department of Ramathibodi Hospital. The study utilizes questionnaires as a tool in collecting data during March 2013 to April 2013. There was a set of 295 completed and returned questionnaires (97.7%). Data was analyzed by using descriptive statistics, standard deviation, Chi-square, Pearson's Correlation, and Multiple Correlation Coefficients. The study found that the sample size had a high level of happiness in work (mean = 134.1) and by aspects found that the acceptance had the highest mean (mean = 35.8) followed by connections (mean = 34.0), work achievement(mean = 32.4) and love of the work had the lowest mean (mean = 31.9). Furthermore, it was also found that both organizational commitment and attitude towards ethical climate were also at a high level (mean = 66.7, 106.5 respectively). Personal factors : age, marital status, educational level and work experience had no relation to happiness in work (p<0.001). Factors that contribute to the prediction of happiness in work of registered nurses were ethical climate and organizational commitment, which could co-predict 58.2% (R2 = 0.582) Therefore, administrations should maintain the policy that encourages happy working environment by supporting activities that promote nurses' achievement resulting in increased acceptance, by complimenting and by rewarding on various occasions as a means to increase working morale. Moreover, they should also provide guidance in professional development for the nurses as a stimulant in the operation and encourage further education to increase work efficiency in the organization.
Description
บริหารสาธารณสุข (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
Degree Name
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะสาธารณสุขศาสตร์
Degree Discipline
บริหารสาธารณสุข
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล