Simulation of wind flow at Mhor Chit II bus terminal
dc.contributor.advisor | Kampand Bhaktikul | |
dc.contributor.advisor | Pijak Hinjiranan | |
dc.contributor.author | Parisud Seethongdee | |
dc.date.accessioned | 2024-02-07T02:14:02Z | |
dc.date.available | 2024-02-07T02:14:02Z | |
dc.date.copyright | 2013 | |
dc.date.created | 2013 | |
dc.date.issued | 2013 | |
dc.description | Technology of Environmental Management (Mahidol University 2013) | |
dc.description.abstract | การจำลองการไหลของลมร่วมกับเขตความสบายของสถานีขนส่งหมอชิต 2 ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการก่อสร้างด้วยคอนกรีตที่มีคุณสมบัติการสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตย์ ที่สาดส่องตลอดทั้งวัน รวมถึงความร้อนจากเครื่องยนต์ รถบัสที่ให้บริการในพื้นที่มีการเข้า - ออกตลอดวัน ส่งผลถึงสภาพอุณหภูมิในพื้นที่ และการที่ลักษณะอาคารมีการก่อสร้างที่ขวางทิศทำงลม ส่งผลถึงการระบายความร้อนในพื้นที่เช่นเดียวกัน ซึ่งจากอุณหภูมิที่สูงขึ้นอาจจะมีผลต่อการทำงานของผู้ปฏิบัติงานในสถานีขนส่งหมอชิต 2 จากการศึกษา พบว่าเมื่อทำการจำลองพื้นที่การไหลเวียนอากาศในพื้นที่โดยใช้หลักการพลศาสตร์การไหล (Computational Fluid Dynamics) พบว่าการจำลองการไหลของลม ความเร็วลมเฉลี่ยในพื้นที่ 2 เมตรต่อวินาที อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในพื้นที่ 40 องศาเซลเซียส เมื่อทำแบบสัมภาษณ์สาหรับผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่และใช้เครื่องมือตรวจวัด ความเร็วลม ความชื้น และอุณหภูมิ ในพื้นที่พบว่า อุณหภูมิในพื้นที่สูงสุดประมาณ 40 องศาเซลเซียส ความเร็วลมเฉลี่ย 2.5 เมตรต่อวินาที และความชื้นสัมพัทธ์ 38% - 55.9% จากการใช้แบบสอบถามพบว่า กลุ่มตัวอย่างตอบมากที่สุด 63% รู้สึกอ่อนเพลีย รองลงมาเป็น 33% รู้สึกหงุดหงิด และที่น้อยที่สุดคือ รู้สึกกังวล 4% ซึ่งคนในพื้นที่ส่วนใหญ่ให้คะแนนความสบายอยู่ที่ระดับ 3 หมายถึง ร้อนมาก และเมื่อเปรียบเทียบกับค่าเขตความสบายของคนไทย ควรอยู่ที่อุณหภูมิ 36 องศาเซลเซียส ความเร็วลมมากกว่า 3 เมตรต่อวินาที และความชื้นที่ 40-70% | |
dc.format.extent | xii, 86 leaves : ill. (some col.) | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Technology of Environmental Management))--Mahidol University, 2013 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95118 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Buildings -- Environmental engineering | |
dc.subject | Computational fluid dynamics | |
dc.subject | Terminals (Transportation) -- Design and construction | |
dc.subject | Terminals (Transportation) -- Thailand -- Bangkok | |
dc.subject | Wind instruments | |
dc.title | Simulation of wind flow at Mhor Chit II bus terminal | |
dc.title.alternative | การจำลองการไหลของลมของสถานีขนส่งหมอชิต 2 | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2555/cd469/5237615.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Environment and Resource Studies | |
thesis.degree.discipline | Technology of Environmental Management | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |