Interactions between Razor Clams (Solen Spp) and environmental factors at Don Hoi Lot Tidal flat, Samut Songkhram province, Thailand
dc.contributor.advisor | Sansanee Choowaew | |
dc.contributor.advisor | Raywadee Roachanakanan | |
dc.contributor.advisor | Suriyapong Watanasak | |
dc.contributor.advisor | Chittima Aryuthaka | |
dc.contributor.author | Narong Veeravaitaya | |
dc.date.accessioned | 2023-09-05T02:21:34Z | |
dc.date.available | 2023-09-05T02:21:34Z | |
dc.date.copyright | 2010 | |
dc.date.created | 2010 | |
dc.date.issued | 2023 | |
dc.description.abstract | ดอนหอยหลอดตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำแม่กลอง ประชากรของหอยหลอดมีจำนวนลดลงเนื่องจาก หลายสาเหตุ การศึกษาวิจัยนี้ดำเนินการ ช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ.2551 ถึงเดือนพฤษภาคม 2552โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะทางชีววิทยา ปริมาณ การแพร่กระจายของหอยหลอดและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ ชีววิทยาของหอยหลอดกับปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาพบว่าหอยหลอดชนิดเด่นที่พบคือ Solen corneus Lamarck 1818 (76.7%) ตามด้วย S. strictus Gould 1861 (19.5%) และ S. regularis Dunker 1861 (3.8%) หอยหลอดชนิด S. corneus มีช่วงไข่สุกใน เดือนกรกฎาคมถึงธันวาคมและเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม กลุ่มแพลงก์ตอนเด่นที่พบในกระเพาะของหอยหลอด คือไดอะตอม (94.37%) อุณหภูมิเฉลี่ยของดินและน้ำมีค่าระหว่าง 19.78-35.18 องศาเซลเซียส และ 22.4 ถึง 32.3 องศาเซลเซียส ตามลำดับ และปริมาณเฉลี่ยของสารอินทรีย์ทั้งหมด ปริมาณเฉลี่ยของทรายในดินและขนาดของ ดินตะกอนปริเวณดินชั้นบนและชั้นล่างมีค่า35.08 35.73 มิลลิกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง 75.8 73.9 % และ 74.8 74.1 ไมโครเมตร ตามลำดับ การศึกษาพบแพลงก์ตอนพืช 187 ชนิด และหอย 14 ชนิด ปริมาณความหนาแน่นของ หอยหลอดแต่ละชนิด มีค่าน้อยกว่า 1 ตัวต่อตารางเมตร หอยหลอดมีประชากรหนาแน่นในบริเวณสถานีเก็บ ตัวอย่างที่มีอัตราส่วนของทรายในดินสูงและพบประชากรหอยหลอดหนาแน่นในเดือนกันยายนและธันวาคม ผล การศึกษาระบุได้ว่าความหนาแน่นของ S. corneus มีความสัมพันธ์สูงกับปัจจัยร่วมระหว่างปริมาณของทรายในดิน ปริมาณสารอินทรีย์และปริมาณน้ำในดินบริเวณดินชั้นบน ส่วนปริมาณน้ำที่ไหลออกสู่บริเวณดอน อุณหภูมิน้ำ และอุณหภูมิดินมีผลต่อการพัฒนาของไข่ของหอยหลอด ปริมาณการจับหอยทั้งหมดในดอนหอยหลอดมีปริมาณ เท่ากับ 11.22 ตันต่อปี สภาพแวดล้อมในดอนหอยหลอดมีความเสื่อมโทรมลงเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของสารอินทรีย์ และการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของแพลงก์ตอนส่งผลต่อองค์ประกอบของดิน และมีผลต่อเนื่องกับถิ่นที่อยู่อาศัยของ หอยหลอด | |
dc.format.extent | xxvi,355 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (Ph.D. (Environment and Resource Studies))--Mahidol University, 2010 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89326 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Razor clams -- Thailand -- Samut Songkhram | |
dc.subject | Razor clams -- Environmental aspects | |
dc.subject | Tidal flat ecology -- Thailand -- Samut Songkhram | |
dc.title | Interactions between Razor Clams (Solen Spp) and environmental factors at Don Hoi Lot Tidal flat, Samut Songkhram province, Thailand | |
dc.title.alternative | ความสัมพันธ์ระหว่างหอยหลอด สกุล Solen Spp และปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมบริเวณดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม ประเทศไทย | |
dcterms.accessRights | restricted access | |
mu.link.internalLink | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2553/cd447.1/4638526.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Environment and Resource Studies | |
thesis.degree.discipline | Environment and Resource Studies | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Doctoral Degree | |
thesis.degree.name | Doctor of Philosophy |