The impact of delayed graft funcion on patients and graft survival in cadaveric kidney transplant recipients at Siriraj Hospital, Thailand
Issued Date
2010
Copyright Date
2010
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 72 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2010
Suggested Citation
Sukgunya Piakhummueang The impact of delayed graft funcion on patients and graft survival in cadaveric kidney transplant recipients at Siriraj Hospital, Thailand. Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2010. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95486
Title
The impact of delayed graft funcion on patients and graft survival in cadaveric kidney transplant recipients at Siriraj Hospital, Thailand
Alternative Title(s)
ผลกระทบของภาวะไตทำงานล่าช้าต่อภาวะรอดชีพของผู้ป่วยและไตที่ได้รับการปลูกถ่ายในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายไตจากผู้บริจาคที่เสียชีวิตด้วยภาวะสมองตายที่โรงพยาบาลศิริราช, ประเทศไทย
Author(s)
Abstract
ภาวะไตทำงานล่าช้าเป็นภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนไตที่สำคัญ ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อไตใหม่ที่ได้รับทั้งทันทีภายหลังการผ่าตัด และระยะยาว การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการศึกษา ปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัพันธ์ต่อการเกิดภาวะไตทำงานล่าช้า และระยะเวลาที่ไตทำงานภายหลังการผ่าตัด โดยทำการศึกษาแบบย้อนหลัง ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตัดจากผู้บริจาคที่เสียชีวิต จากภาวะสมองตายของโรงพยาบาลศิริราชในช่วงเดือนมกราคม 2545 ถึง มกราคม 2552 จำนวน 140 ราย ที่มี ภาวะไตทำงานล่าช้าภายหลังการผ่าตัด และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดภาวะไตทำงานล่าช้า โดย ศึกษาปัจจัย 3 ด้านได้แก่ ปัจจัยของผู้รับบริจาค (อายุ ,เพศ และ ระยะเวลาฟอกเลือด) , ปัจจัยผู้บริจาค (เพศ, อายุและสาเหตุการเสียชีวิต) ปัจจัยในส่วนของ transplant factors ( PRA, HLA,CIT และการได้รับ ยาในกลุ่ม IL-2 ก่อนการผ่าตัด) จากการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงซ้อนโดยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุแบบลอจิสติก พบว่าระยะเวลา ฟอกเลือดก่อนได้รับการผ่าตัดที่ มากกว่า 24 เดือน มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะไตทำงานล่าช้าอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (OR= 4.167vs10.47, 95%CI=1.260-13.83vs1.93-56.74, p =0.020vs.006). ในด้านของผู้บริจาค นั้น ผุ้บริจาคที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 50 ปี สาเหตุของการเสียชีวิต จาก CVA มีความสัมพันธ์ต่อการเกิด ภาวะไตทำงานล่าช้าแต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับปัจจัยอื่น ๆนั้นไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ อัตราการเกิดภาวะไตทำงานล่าช้าภายหลังการผ่าตัดคือ 80.7 % โดยอัตราการทำงานของไต ภายหลังการผ่าตัดถึงสิ้นสุดการศึกษาที่ 7 ปี ในกลุ่ม DGF และ IGF คือ 56.3 % และ 89 % ซึ่งแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value = 0.016 ) , ปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ CIT < 24 ชั่วโมง และ > 24 ชั่วโมง 76ราย (79.2%), 29ราย (85.3%), HLA < 3 mismatch 50ราย (78.1%), HLA > 3 mismatch 51 ราย (81%), PRA < 30% 101ราย (81.5%), PRA> 30% 12ราย (75%) และจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับและไม่ได้รับ induction therapy 38 ราย (84.4%) และ 75ราย (78.9%)ไม่มีความสัมพันธ์ต่ออัตราการทำงานของไตภายหลังการผ่าตัด ภาวะ DGF มีผลต่ออัตราการทำงานของไตในระยะยาว การป้องกัน หรือ ลดสาเหตุของการ เกิดภาวะ DGF จะมีประโยชน์อย่างมากต่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ
Description
Epidemiology (Mahidol University 2010)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Epidemiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University