The quality of work-life for nurse practitioners : a case study of intensive care units

dc.contributor.advisorPannipa Buraphacheep
dc.contributor.advisorDalapat Yossatorn
dc.contributor.authorJutakan Boonnuchapirak
dc.date.accessioned2024-01-19T05:41:30Z
dc.date.available2024-01-19T05:41:30Z
dc.date.copyright2016
dc.date.created2024
dc.date.issued2016
dc.descriptionHuman Development (Mahidol University 2016)
dc.description.abstractThis research was conducted to study the quality of work-life for nurse practitioners a case study of intensive care units by implementing the conceptual framework of the Thai Health Promotion Foundation (THPF) which divided quality of working life into physical, psychological and emotional dimensions. Data were collected from individual questionnaires given to 252 nurse practitioners in the intensive care unit. The statistics employed in the study for quantitative data analysis consisted of descriptive statistics. The hypothesis was tested by employing t-test statistics, Correlation Analysis, one-way ANOVA and Regression analysis. Based on the findings, the personal factors of chronic diseases and job satisfaction among different nurse practitioners revealed nurses to have different overall and individual quality of working life was able to predict overall quality of working life scores with statistical significance at 0.001 . This study recommends future studies to study the factors with potential influence on quality of working life such as hospital policies, organization values, technological advances, etc. In addition, future studies should be conducted to study guidelines for promoting and improving quality of life for nurse practitioners in the intensive care unit in order for practitioners to have greater work efficiency.
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลระดับปฏิบัติการ กรณีศึกษาหออภิบาลผู้ป่วยระยะวิกฤต โดยใช้กรอบแนวคิดของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ซึ่งแบ่งคุณภาพชีวิตการทำงานออกเป็นด้านกาย จิตใจ และ อารมณ์ โดยเก็บรวบรวมแบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเองจากพยาบาลระดับปฏิบัติการในหออภิบาลผู้ป่วยระยะวิกฤต จำนวน 252 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัยสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติทดสอบที สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การแปรปรวนถดถอย จากผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านโรคประจำตัวและ ปัจจัยด้านระดับความพึงพอใจในงานของพยาบาลระดับปฏิบัติการที่แตกต่างกันจะมีคุณภาพชีวิตการทำงานโดยรวม และ รายด้านที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธ์ิการถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่า ตัวแปรการมีโรคประจำตัว ระดับการศึกษา และระดับความพึงพอใจในงานในภาพรวม สามารถพยากรณ์คะแนนคุณภาพชีวิตการทำงานในภาพรวม ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไปคือ ควรมีการศึกษาปัจจัยอื่นๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงาน เช่น นโยบายของโรงพยาบาล ค่านิยมขององค์กร ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี เป็นต้น และควรศึกษาแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตพยาบาลระดับ ปฏิบัติการ ในหออภิบาลผู้ป่วยระยะวิกฤต เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มมากขึ้น
dc.format.extentxi, 174 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2016
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93309
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectQuality of work life
dc.subjectNurses
dc.subjectNursing Staff, Hospital
dc.titleThe quality of work-life for nurse practitioners : a case study of intensive care units
dc.title.alternativeคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลระดับปฏิบัติการ : กรณีศึกษาหออภิบาลผู้ป่วยระยะวิกฤต
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2559/cd513/5437090.pdf
thesis.degree.departmentNational Institute for Child and Family Development
thesis.degree.disciplineHuman Development
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files