Recovery of functional abilities after treatment for 3 months in stroke patients who did not receive recombinant tissue plasminogen activator therapy : the comparison between patients who arrived at a hospital within 4.5 hours and those who arrived after 4.5 hours of symptom onset
Issued Date
2012
Copyright Date
2012
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 117 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2012
Suggested Citation
Sujittra Duangjit Recovery of functional abilities after treatment for 3 months in stroke patients who did not receive recombinant tissue plasminogen activator therapy : the comparison between patients who arrived at a hospital within 4.5 hours and those who arrived after 4.5 hours of symptom onset. Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2012. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95013
Title
Recovery of functional abilities after treatment for 3 months in stroke patients who did not receive recombinant tissue plasminogen activator therapy : the comparison between patients who arrived at a hospital within 4.5 hours and those who arrived after 4.5 hours of symptom onset
Alternative Title(s)
การฟื้นตัวด้านความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ไม่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดหลังรับการรักษา 3 เดือน : เปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่มาโรงพยาบาลเร็วภายใน 4.5 ชั่งโมงและมาช้ามากกว่า 4.5 ชั่วโมงหลังเกิดอาการ
Author(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบติดตามไปข้างหน้า เพื่อศึกษาการฟื้นตัวด้านความสามารถในการ ประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ไม่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดหลังรับการรักษา 3 เดือน : เปรียบเทียบระหว่างผู้ป่วยที่มาโรงพยาบาลเร็วภายใน 4.5 ชั่วโมงและมาช้ามากกว่า 4.5 ชั่วโมงหลังเกิดอาการ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติเกณฑ์คัดเข้า-คัดออกที่กำหนดจำนวน 194 ราย เป็นผู้ป่วยที่เข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลสระบุรี เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและ/หรือญาติ 2 ครั้ง ครั้งแรกในวันแรกที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาและครั้งที่ 2 จะสัมภาษณ์หลังจากนี้ 3 เดือนทำงโทรศัพท์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบบันทึก สำหรับการทำวิจัย ได้แก่ แบบประเมิน mRS, Barthel Index, NIHSS, GCS, และ WHOQOL-Bref-Thai วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป SPSS เวอร์ชั่น 19 ผู้ป่วยจำนวน 173 รายที่ได้รับการสัมภาษณ์ครบหลังรับการรักษา 3 เดือน (88 รายเป็นผู้ป่วยที่มา โรงพยาบาลเร็วและ 85 รายเป็นผู้ป่วยที่มาโรงพยาบาลช้า) ผลการศึกษาพบว่าในวันแรกที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษา ความรุนแรงของโรค (คะแนน NIHSS ตั้งแต่ 15 ขึ้นไป) ของผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทำงสถิติ (p=0.003) โดยผู้ป่วยที่มาโรงพยาบาลเร็วจะมีความรุนแรงของโรคมากกว่าผู้ป่วยที่มาโรงพยาบาลช้า และที่ 3 เดือนหลังรับการรักษา การฟื้นตัวโดยใช้แบบประเมิน mRS, Barthel Index และ WHOQOL-Bref-Thai ของผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน (p>0.05) เมื่อวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่สามารถทำนายการฟื้นตัวด้านความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ไม่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดที่มีระดับคะแนนความสามารถในการช่วยเหลือตนเองดีขึ้นหลังรับการรักษา 3 เดือน พบว่า อายุ ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันก่อนเกิดโรค คะแนนความรุนแรงของโรค และความสามารถในการช่วยเหลือตนเองของการประเมินในวันแรกที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เป็นตัวแปรที่ส่งผลต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสาคัญทำงสถิติ (p<0.05) ข้อมูลจากการวิจัยนี้อาจนำไปใช้ในการทำนายการฟื้นตัวด้านความสามารถในการประกอบกิจวัตร ประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ไม่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด
Description
Epidemiology (Mahidol University 2012)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Epidemiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University