A retrospective study to evaluate low molecular weight heparin (LMWH) usage and identify risk factors for major bleeding
Issued Date
2010
Copyright Date
2010
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 168 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Pharmacy))--Mahidol University, 2010
Suggested Citation
Narinee Khaisombat A retrospective study to evaluate low molecular weight heparin (LMWH) usage and identify risk factors for major bleeding. Thesis (M.Sc. (Clinical Pharmacy))--Mahidol University, 2010. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95412
Title
A retrospective study to evaluate low molecular weight heparin (LMWH) usage and identify risk factors for major bleeding
Alternative Title(s)
การศึกษาแบบย้อนหลังเพื่อประเมินการใช้ยา Low molecular weight heparin (LMWH) และค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดอาการเลือดออกชนิดรุนแรง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
หลักฐานจากประเทศตะวันตกแสดงให้เห็นว่าขนาดยา enoxaparin ที่ไม่เหมาะสมเป็นสิ่งที่ พบได้บ่อยและก่อให้เกิดผลเสียโดยตรงต่อผู้ป่วยโรคหลอดเลือดโคโรนารีชนิดเฉียบพลัน โดยเฉพาะเป็น สาเหตุให้เกิดเลือดออก อย่างไรก็ดียังขาดข้อมูลดังกล่าวในคนเอเชีย การศึกษาแบบย้อนหลังนี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อประเมินการใช้ยา enoxaparin และค้นหาปัจจัยเสี่ยงของการเกิดเลือดออกในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดโคโรนารีชนิดเฉียบพลันของโรงพยาบาลรามาธิบดี เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตั้งแต่ปี 2549-2551 จำนวน 359 คน จำแนกเป็น ST-elevation myocardial infarction 25.6%, non-ST-elevation myocardial infarction 56.6% และ unstable angina 17.8% ประเมินขนาดยาตามน้ำหนักและการทำงานของ ไตพบเพียง 42.1% ที่ได้รับขนาดยาเหมาะสม พบขนาดยาสูงเกิน 15.6% และต่ำกว่าคำแนะนำ 42.3% พิจารณากลุ่มขนาดยาสูงเกินพบถึง 57.1% ที่ไม่ได้ปรับขนาดยาตามการทำงานของไตที่บกพร่องรุนแรง นอกจากนี้ยังมีสัดส่วนของเพศหญิงมากกว่า อายุเฉลี่ยมากกว่า และน้ำหนักน้อยกว่า เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ ขนาดยาเหมาะสม พบเลือดออกที่เกี่ยวเนื่องกับยา enoxaparin 38.7% ความรุนแรง GUSTO ระดับ mild, moderate และ severe พบ 30.9%, 6.6% และ 1.2% ตามลำดับ เกณฑ์ TIMI เป็น minimal, minor และ major พบ 34.7%, 3.5% และ 1.2% ตามลำดับและ TACSR major พบ 8.1% ขนาดยาสูงเกินเสี่ยงต่อเลือดออก โดยรวมเมื่อเทียบกับขนาดยาเหมาะสม อย่างมีนัยสำคัญเมื่อวิเคราะห์หลายตัวแปร (GUSTO: OR, 2.18; 95%CI, 1.18-4.00, TIMI: OR, 2.08; 95%CI, 1.13-3.84) ความเสี่ยงของการเสียชีวิตสัมพันธ์กับความ รุนแรงของอาการเลือดออกและระยะเวลานอนโรงพยาบาลสูงกว่า อย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่มี เลือดออก การศึกษานี้สนับสนุนว่าการเพิ่มความระมัดระวังในการใช้ enoxaparin และพัฒนามาตรการ จัดการความเสี่ยงอย่างเป็นระบบเพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้ป่วยเป็นสิ่งที่ควรสนับสนุนให้มีการ
Description
Clinical Pharmacy (Mahidol University 2010)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Pharmacy
Degree Discipline
Clinical Pharmacy
Degree Grantor(s)
Mahidol University