อุปกรณ์ช่วยประคับประคองข้อมือ-แขนระหว่างการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2564
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
tha
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
Call No.
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
item.page.oaire.edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล
Physical Location
Bibliographic Citation
Citation
จุฑามาศ จันทร์รัตนา, สัณฑ์ ม่วงน้อยเจริญ, เบญจวรรณ แขวงแดง, ไปรยา นะวะมวัฒน์, พัชริดา พบถาวร (2564). อุปกรณ์ช่วยประคับประคองข้อมือ-แขนระหว่างการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ. Retrieved from: https://hdl.handle.net/20.500.14594/71561.
Title
อุปกรณ์ช่วยประคับประคองข้อมือ-แขนระหว่างการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
Alternative Title(s)
Author's Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor's Affiliation
Corresponding Author(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
จากปัญหาการเลื่อนหลุด หัก พับงอ ของสายให้สารน้ำก่อให้เกิด ปัญหาเครื่องinfusionที่ใช้สำหรับกำหนดอัตราการไหลของสารน้ำเกิดalarm ทำให้พยาบาลที่ต้องดูแลผู้ป่วยที่ได้รับสารน้ำจากกลุ่มอาการ PUI หรือผู้ป่วย โรคโควิด-19 ซึ่งอยู่ในระหว่างรอผล swab เพื่อแยกโรคต้องทำงานเพิ่มขึ้นและเข้าดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยบ่อยขึ้น เกิดการสัมผัสในสิ่งแวดล้อมหรืออุปกรณ์ที่ใช้ กับผู้ป่วยบ่อยครั้ง ทำให้การเว้นระยะห่าง (Social Distencing)ไม่ปลอดภัยต่อ ผู้ปฎิบัติงาน จึงได้นำปัญหาที่เกิดขึ้น มาปรับปรุง แก้ไขและได้สร้างเป็นนวัตกรรมจากผ้าที่อาจช่วยในการดูแลผู้ป่วยและผู้ปฎิบัติงานได้ปลอดภัยมากขึ้นในระหว่างที่ผู้ป่วยได้รับสารน้ำและรอผลการตรวจหาเชื้อ RT PCR sars-cov2 เพื่อแยกโรคและจากการทำแบบประเมินความพึงพอใจพบว่าพยาบาลมีความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมค่อนข้างมากคิดเป็นร้อยละ75-100 และรายข้อ ด้านความเหมาะสมในการใช้งานกับผู้ป่วย คิดเป็นร้อยละ100 ผู้ช่วยพยาบาล มีความพึงพอใจค่อนข้างมากคิดเป็นร้อยละ75-100 ส่วนรายข้อด้านความ เหมาะสมในการใช้งานกับผู้ป่วยคิดเป็นร้อยละ 87.5 ซึ่งผู้ป่วยมีความพึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ87.5-100 และรายข้อด้านความเหมาะสมด้านการใช้งาน กับผู้ป่วยคิดเป็นร้อยละ100
Table of contents
Description
ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”.
ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 151