The effect of different luting cements on fracture resistance of implant-supported Zirconia all ceramic crown
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 34 leaves : col. ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Implant Dentistry))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Rataya Mahachai The effect of different luting cements on fracture resistance of implant-supported Zirconia all ceramic crown. Thesis (M.Sc. (Implant Dentistry))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94091
Title
The effect of different luting cements on fracture resistance of implant-supported Zirconia all ceramic crown
Alternative Title(s)
ผลของซีเมนต์ยึดครอบฟันชนิดต่าง ๆ ต่อการแตกหักของกรอบฟันเซอร์โคเนียบนรากฟันเทียม
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Objective: The aim of this study was to compare the effect of four different luting cements on fracture resistance of zirconia-based implant-supported crowns. Method: 28 zirconia crowns with anatomical frameworks were separated into four groups placing on each implant abutment unit with 4 different luting cements: group1 adhesive resin cement, group 2 zinc phosphate cement, group 3 non-adhesive resin cement and group 4 zinc-oxide non-eugenol cement. All specimens were exposed to 250,000 cycles of mechanical fatigue in a mastication simulator. After that, they were compressively loaded in a universal testing machine. Load was applied until fracture. Kruskal-Wallis Test was performed to test for differences in fracture resistance values with a global significance level of 0.05. Cracks and indentations in the fracture surface were observed under a light microscope and scanning electron microscope (SEM). Result: There were no significant different between mean fracture failure load of four cements. However, their failure patterns indicated differences. Zinc oxide non-eugenol cement specimens exhibited veneering and core fracture. On the other hand, adhesive resin cement specimens and zinc phosphate cement specimens showed only veneering fracture. Non-adhesive resin cement specimens indicated both. Conclusion: The type of cement had no a significant effect on the fracture resistance of anatomical zirconia-based implant-supported single crowns.
การศึกษามีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของซีเมนต์ยึดครอบชนิดต่างๆ ต่อการ แตกหักของครอบฟันเซอร์โคเนียบนรากฟันเทียม ครอบฟันเซอร์โคเนียที่มี anatomical framework จำนวน 28 ชิ้นถูกแบ่งเป็น 4 กลุ่มเพื่อยึดติดบนรากฟันเทียมด้วยซีเมนต์ 4 ชนิด คือ กลุ่ม 1 adhesive resin cement, กลุ่ม 2 zinc phosphate cement, กลุ่ม 3 non-adhesive resin cement และกลุ่ม 4 zincoxide non-eugenol cement กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจะถูกส่งไปเข้าเครื่อง mastication simulator เพื่อลอกเลียนการเคี้ยวในช่องปากจำนวน 250,000 รอบ หลังจากนั้นจะถูกกดจนแตกด้วยเครื่อง universal testing machine และบันทึกแรงทีทำให้เกิดการแตกหัก รอยแตกจะถูกบันทึกและ ตรวจสอบด้วยกล้อง light microscope และ scanning electron microscope (SEM) ผลการทดสอบ พบว่า ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างซีเมนต์ยึดติดแต่ละชนิดต่อการแตกหักของครอบฟันเซอร์โคเนียบนรากฟันเทียม อย่างไรก็ตามพบว่าลักษณะการแตกหักมีความแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง zinc oxide non-eugenol cement specimens พบการแตกหักของชั้นวีเนียร์ และเซอร์โคเนียชั้นใน แต่กลุ่ม adhesive resin cement และ zinc phosphate cement specimens พบการแตกถึงแค่ชั้นวีเนียร์ ส่วนกลุ่มNon-adhesive resin cementพบการแตกหักทั้งสองแบบ จากการศึกษาจึงสรุปได้ว่าชนิดของซีเมนต์ยึดครอบฟันชนิดต่างๆ ไม่มีผลต่อการแตกหักของครอบฟันเซอร์โคเนียแบบ anatomical framework บนรากฟันเทียม
การศึกษามีจุดประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของซีเมนต์ยึดครอบชนิดต่างๆ ต่อการ แตกหักของครอบฟันเซอร์โคเนียบนรากฟันเทียม ครอบฟันเซอร์โคเนียที่มี anatomical framework จำนวน 28 ชิ้นถูกแบ่งเป็น 4 กลุ่มเพื่อยึดติดบนรากฟันเทียมด้วยซีเมนต์ 4 ชนิด คือ กลุ่ม 1 adhesive resin cement, กลุ่ม 2 zinc phosphate cement, กลุ่ม 3 non-adhesive resin cement และกลุ่ม 4 zincoxide non-eugenol cement กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจะถูกส่งไปเข้าเครื่อง mastication simulator เพื่อลอกเลียนการเคี้ยวในช่องปากจำนวน 250,000 รอบ หลังจากนั้นจะถูกกดจนแตกด้วยเครื่อง universal testing machine และบันทึกแรงทีทำให้เกิดการแตกหัก รอยแตกจะถูกบันทึกและ ตรวจสอบด้วยกล้อง light microscope และ scanning electron microscope (SEM) ผลการทดสอบ พบว่า ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างซีเมนต์ยึดติดแต่ละชนิดต่อการแตกหักของครอบฟันเซอร์โคเนียบนรากฟันเทียม อย่างไรก็ตามพบว่าลักษณะการแตกหักมีความแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง zinc oxide non-eugenol cement specimens พบการแตกหักของชั้นวีเนียร์ และเซอร์โคเนียชั้นใน แต่กลุ่ม adhesive resin cement และ zinc phosphate cement specimens พบการแตกถึงแค่ชั้นวีเนียร์ ส่วนกลุ่มNon-adhesive resin cementพบการแตกหักทั้งสองแบบ จากการศึกษาจึงสรุปได้ว่าชนิดของซีเมนต์ยึดครอบฟันชนิดต่างๆ ไม่มีผลต่อการแตกหักของครอบฟันเซอร์โคเนียแบบ anatomical framework บนรากฟันเทียม
Description
Implant Dentistry (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Dentistry
Degree Discipline
Implant Dentistry
Degree Grantor(s)
Mahidol University