Association between lifestyle factors and metabolic syndrome among population of Banphaeo, Samutsakorn, Thailand 2008
dc.contributor.advisor | Kulaya Narksawat | |
dc.contributor.advisor | Mandhana Pradipasen | |
dc.contributor.advisor | Rewadee Chongsuwat | |
dc.contributor.author | Nitikorn Phoosuwan | |
dc.date.accessioned | 2024-02-07T02:13:29Z | |
dc.date.available | 2024-02-07T02:13:29Z | |
dc.date.copyright | 2011 | |
dc.date.created | 2011 | |
dc.date.issued | 2011 | |
dc.description | Infectious Diseases and Epidemiology (Mahidol University 2011) | |
dc.description.abstract | การศึกษาเชิงสังเกตแบบเคสคอนโทลในชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางวิถีชีวิตและปัจจัยอื่นที่มีผลต่อโรคเมตาบอลิกซินโดรมในประชาชนอำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร การศึกษาใช้เกณฑ์โรคเมตาบอลิกซินโดรมจากรายงานฉบับที่ 3 ของ NCEP โดยกลุ่มประชากรศึกษาประกอบด้วยกลุ่มผู้ป่วยด้วยโรคเมตาบอลิกซินโดรมจำนวน 196 ราย และกลุ่มเปรียบเทียบที่ไม่มีโรคเมตาบอลิกซินโดรมจำนวน 212 ราย ที่มีอายุ 35 ถึง 60 ปี ที่เข้าร่วมโครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ดำเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุขในเดือนพฤศจิกายน 2550 ถึงเดือนมิถุนายน 2551 เก็บข้อมูลด้วยการเยี่ยมบ้านและโดยสัมภาษณ์ปัจจัยทางวิถีชีวิตในช่วง 1-2 ปีที่ผ่านมา ซึ่งได้แก่ ลักษณะของกิจกรรมทางกายจากการประกอบอาชีพ และการออกกำลัง กาย พฤติกรรมบริโภคอาหาร การดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ และสุขภาพจิต ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงซ้อนโดยการแยกเพศ พบว่าในเพศชายปัจจัยทางวิถีชีวิตหรือ พฤติกรรมที่มีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การมีอาชีพที่ส่วนใหญ่ของเวลาการทำงานไม่ได้เคลื่อนไหวหรือใช้แรงงาน (OR 2.82, 95%CI 1.22-6.55) และการบริโภคอาหารทะเลได้แก่ ปลาหมึก กุ้ง และหอย ไม่รวมปลา (OR 4.82, 95%CI 1.36-17.15) ในเพศหญิงไม่พบปัจจัยทางวิถีชีวิตที่มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่พบว่าโอกาสที่เพศหญิงจะมี อาการ 3 ใน 5 ของเมตาบอลิกซินโดรมจะเพิ่มขึ้นทุกปีที่อายุเพิ่มขึ้นหนึ่งปี (OR 1.05, 95%CI 1.01-1.10) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคอ้วนลงพุงในเพศชาย การพัฒนาและปรับปรุงกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่มีอยู่ เช่น การออกกำลังกาย จะสามารถลดอุบัติการณ์การเกิดโรคอ้วนลงพุงที่สามารถนำไปสู่การเกิดโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจได้ | |
dc.format.extent | xi, 89 leaves | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Infectious Diseases and Epidemiology))--Mahidol University, 2011 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94987 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Metabolic syndrome -- Thailand -- Samut Sakhon | |
dc.subject | Risk Factors | |
dc.title | Association between lifestyle factors and metabolic syndrome among population of Banphaeo, Samutsakorn, Thailand 2008 | |
dc.title.alternative | ปัจจัยทางวิถีชีวิตที่มีผลต่อการเกิดโรคเมตรบอลิกซินโดรมในประชาชนอำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2553/cd448/5037152.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Public Health | |
thesis.degree.discipline | Infectious Diseases and Epidemiology | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |