Working status of disabled persons after vocational training from the Redemptorist Vocational School for the Disabled, Pattaya

dc.contributor.advisorPoonpit Amatyakul
dc.contributor.advisorArunee Limmanee
dc.contributor.authorKalyanee Phumchusree
dc.date.accessioned2025-04-01T03:16:12Z
dc.date.available2025-04-01T03:16:12Z
dc.date.copyright2002
dc.date.created2025
dc.date.issued2002
dc.descriptionRehabilitation Service for Persons with Disabilities (Mahidol University 2002)
dc.description.abstractThe research objective was to study working life and vocations of disabled persons, their attitude to school, study of the basic public utility in society and attitude of colleagues and employers' behavour at their jobs, including current problems. The results of this study revealed there was a lot of acceptance of disabled persons, without emotions about their disabilities. Having a vocation is the most important for them because it makes them feel value, dignity, equality and not a burden on society. If disabled persons have the opportunity to develop their abilities by training, they can develop them. They are no different from the normal persons. Job markets have no suitable facilities such as slope way, toilet, lift etc. Disabled people want their employers to treat them equally to normal persons, in the workplace. Colleagues accept the disabled persons' ability equally to normal persons. Some of them return to their hometown and have incomes and expenses. They are a part of the economy. 83.5 percent do not continue studying. The disabled persons who ended studying in 2 sections of the Redemptorist Vocational School for the Disabled, Pattaya have more opportunities than the other disabled persons. From the results of this research, the candidate would like to offer advice to the government in administering the budget or holding fund for development and vocational training and to increase the budget for disabled persons, especially for the physical disabled persons in curriculum of computer, electronics and others. There is slight improvement of facilities for disabled persons. It's important to support disabled persons in living a normal lifestyle.
dc.description.abstractการศึกษาสถานภาพการทำงานของคนพิการทางกายที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอาชีวพระมหาไถ๋ พัทยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชีวิตการทำงานของคนพิการทางกายในการประกอบอาชีพ ทัศนคติของเขามีต่อโรงเรียนศึกษาสถานภาพทางสังคมในด้านการจัดสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานให้แก่คนพิการและเจตคติการปฏิบัติตนของเพื่อนร่วมงานและนายจ้างในสถานประกอบการรวมทั้งปัญหาที่ประสบอยู่ในปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า คนพิการส่วนมากยอมรับสภาพความพิการได้แล้ว ไม่รู้สึกอะไรกับสภาพความพิการ ของตนเอง การประกอบอาชีพ การมีงานทำมีความสำคัญมาก เพราะเป็นการสร้างคุณค่า ความภาคภูมิใจ ความเท่าเทียม และไม่เป็นภาระแก่สังคม ถ้าให้โอกาสคนพิการได้พัฒนาความรู้ความสามารถ หรือฝึกอบรม ก็จะสามารถพัฒนาศักยภาพที่มีอยู่ได้ไม่ต่างจากคนไม่พิการสภาพแวดล้อมของสถานที่ทำงานส่วนมากไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ทางลาด, ห้องสุขา, ลิฟท์ ฯลฯ. สำหรับคนพิการ แต่คนพิการมีความรู้สึกต่อนายจ้างว่า นายจ้างปฏิบัติต่อตนเองไม่แตกต่างจากคนไม่พิการและยินดีที่มีคนพิการมาร่วมงานด้วย ส่วนเพื่อนร่วมงานยอมรับว่าคนพิการก็มีความสามารถพอๆ กับคนปกติทั่ว ไป คนพิการที่จบการศึกษาแล้วกลับภูมิลำเนาเดิมจะมีรายได้และรายจ่ายมีความสัมพันธ์กับเศรษฐกิจของพื้นที่ ส่วนมากไม่ได้ศึกษาต่อคิดเป็นร้อยละ 83.5 คนพิการที่จบการศึกษาทั้งสองแผนก ส่วนมากมีความเห็นว่าการได้เข้าเรียนที่โรงเรียนอาชีวพระมหาไถ่ พัทยา ถือได้ว่าเป็นโอกาสที่ดีกว่าคนพิการทางกายคนอื่น ๆ ผลการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโรงเรียนอาชีวพระมหาไถ่ พัทยาว่าควรขยายหลักสูตรในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ไปสู่ภูมิภาคอื่นๆเพื่อกระจายโอกาสให้คนพิการทุกภาคตลอดจนติดตามประเมินผลบุคคลที่ศึกษาจบแล้วไปประกอบอาชีพ ส่วนภาครัฐบาลควรจัดสรรเงินงบประมาณและจัดให้มีกองทุนสำหรับพัฒนาการศึกษาและฝึกอาชีพให้กับคนพิการอย่างเพียงพอ ในหลักสูตรวิชาคอมพิวเตอร์ เล็กทรอนิกส์ และวิชาชีพอื่น ๆ ตลอดจนปรับปรุงให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการเพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคในการทำงาน และการเดินทางไปยังสถานที่ทำงาน ซึ่งถือเป็นสิ่งสำคัญที่จะเกื้อหนุนให้คนพิการได้ใช้ชีวิตร่วมกับคนไม่พิการในโลกของการทำงานได้มากขึ้นกว่าเดิม
dc.format.extentxi, 115 leaves
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.A. (Rehabilitation Service for Persons with Disabilities))--Mahidol University, 2002
dc.identifier.isbn9740416454
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/107334
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectPeople with disabilities -- Vocational education
dc.subjectPeople with disabilities -- Employment
dc.subjectPeople with disabilities -- Social conditions
dc.titleWorking status of disabled persons after vocational training from the Redemptorist Vocational School for the Disabled, Pattaya
dc.title.alternativeสถานภาพการทำงานของคนพิการทางกายที่จบการศึกษาจากโรงเรียนอาชีวพระมหาไถ่ พัทยา
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/scan/4037761.pdf
thesis.degree.departmentRatchasuda College
thesis.degree.disciplineRehabilitation Service for Persons with Disabilities
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Arts

Files