The association among internet use behavior, sexual attitudes and behaviors in grade 7th-12th students in Thai educational system in Bangkok
Issued Date
2015
Copyright Date
2015
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ix, 114 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Child, Adolescent and Family Psychology))--Mahidol University, 2015
Suggested Citation
Nitinai Thonglua The association among internet use behavior, sexual attitudes and behaviors in grade 7th-12th students in Thai educational system in Bangkok. Thesis (M.Sc. (Child, Adolescent and Family Psychology))--Mahidol University, 2015. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94014
Title
The association among internet use behavior, sexual attitudes and behaviors in grade 7th-12th students in Thai educational system in Bangkok
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตกับทัศนคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ในระบบการศึกษา กรุงเทพมหานคร
Author(s)
Abstract
The research aimed to study the association between the patterns of Internet/Social media use and sexual attitudes/behaviors in secondary school students in Bangkok. This was a cross-sectional survey study. Participants were recruited by simple random sampling from 6 schools in Bangkok. They were asked to complete the Internet use questionnaire and the modified version of the Sexual Activities and Attitudes Questionnaire (SAAQ) by themselves in a semi-privacy context. The Participants were 522 students, Two hundred and forty-four (44.5%) were males and 278 (55.5%) were females with a mean age of 15.1 ± 1.7 years. They spent 12.9 hours/day with all types of media use on weekdays and 13.4 hours/day on weekends. They spent about 2.0 and 1.3 hours/week accessing sexual materials on the Internet and social media, respectively. Fifty seven (10.9%) students had sexual intercourse experience by the age of the first sexual intercourse of 14.5 ± 1.6 years. Nine (15.8) of them had more than 2 partners in the previous year. There were statistically significant associations between time spent accessing sexual materials on the Internet/social media and sexual preoccupation (r=0.48, P<0.001 and r=0.30, p<0.001 for Internet use and social media, respectively), sexual permissiveness (r=0.28, p<0.001 and r=0.19, P<0.001, respectively), internal and external pressure to engage in sex (r=0.13), p=0.003 and r=-0.01, P<0.05, respectively) and sexual ambivalence (r=0.34, P<0.001 and r=0.25, p<0.001, respectively) The secondary school students in Bangkok spent more than half a day on the Internet or media use. The amount of time they spent accessing sexual contents was associated with risk sexual attitudes and sexual behaviors.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตกับทัศนคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ในระบบการศึกษาแบบสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร เป็นการสำรวจ ภาคตัดขวาง ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการคัดเลือกด้วยกระบวนการสุ่มอย่างง่ายจาก 6 โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองที่เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตและทัศนคติ/พฤติกรรมทางเพศ ซึ่งแบบสอบถามถูกดัดแปลงจา The sexual activities and attitudes questionnaire (SAAQ) ในบริบทที่มีความเป็นส่วนตัว มีผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 522 เป็นเพศชาย 244 คน (ร้อยละ 44.5) เพศหญิง 278 คน (ร้อยละ 55.5) มีอายุเฉลี่ย 15.1 ± 1.7 ปี พบว่ามีการใช้สื่อทุกประเภทในวันธรรดาเป็นเวลาเฉลี่ย 12.9 ชม./วัน และเวลาเฉลี่ย 2.0 ชม./สัปดาห์ และ 1. ชม./สัปดาห์ ตามลำดับ กลุ่มตัวอย่าง 57 คน (ร้อยละ 10.9) เคยมีเพศสัมพันธ์โดยมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกที่อายุฉลี่ย 14.5 ± 1.6 ปีและ 15 คน (ร้อยละ 26.4) มีเพศสัมพันธ์กับคู่รักมากกว่า 2 คน เมื่อปีที่ผ่านมา ผลการศึกษาพบว่าเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เกี่ยวกับเรื่องเพศมีความสัมพันธ์กับทัศนติทางเพศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ความคิดหมกมุ่น (r=0.18, p<0.001 และ r=0.30, p< 0.001 ตามลำดับ) การยิมยอมมีเพศสัมพันธ์ (r=0.28, p<0.001 และ r=0.19, p<0.001 ตามลำดับ) แรงผลักดันภายในและภายนอกต่อการร่วมกิจกรรมทางเศ (r=0.13, p=0.003 และ r=0.10, p=0.028 ตามลำดับ) ทัศนคติทางลบเกี่ยวกับเรื่องเพศ (r=-0.16, p<0.001 และ r=-0.01, p<0.05 ตามลำดับ) และความลังเลใจเกี่ยวกับเรื่องเพศ (r=0.34, p<0.001 and r=0.25, p<0.001 ตามลำดับ นักเรียนมัธยมศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร ใช้เวลากับอินเทอร์เน็และสื่อสังคมออนไลน์เกินกว่าครึ่งต่อวัน และพบว่ายิ่งมีการเข้าใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เกี่ยวกับเรื่องทางเพศมากก็ยิ่งสัมพันธ์กับทัศนคติและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศมากด้วย
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตกับทัศนคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ในระบบการศึกษาแบบสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร เป็นการสำรวจ ภาคตัดขวาง ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการคัดเลือกด้วยกระบวนการสุ่มอย่างง่ายจาก 6 โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองที่เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตและทัศนคติ/พฤติกรรมทางเพศ ซึ่งแบบสอบถามถูกดัดแปลงจา The sexual activities and attitudes questionnaire (SAAQ) ในบริบทที่มีความเป็นส่วนตัว มีผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 522 เป็นเพศชาย 244 คน (ร้อยละ 44.5) เพศหญิง 278 คน (ร้อยละ 55.5) มีอายุเฉลี่ย 15.1 ± 1.7 ปี พบว่ามีการใช้สื่อทุกประเภทในวันธรรดาเป็นเวลาเฉลี่ย 12.9 ชม./วัน และเวลาเฉลี่ย 2.0 ชม./สัปดาห์ และ 1. ชม./สัปดาห์ ตามลำดับ กลุ่มตัวอย่าง 57 คน (ร้อยละ 10.9) เคยมีเพศสัมพันธ์โดยมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกที่อายุฉลี่ย 14.5 ± 1.6 ปีและ 15 คน (ร้อยละ 26.4) มีเพศสัมพันธ์กับคู่รักมากกว่า 2 คน เมื่อปีที่ผ่านมา ผลการศึกษาพบว่าเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เกี่ยวกับเรื่องเพศมีความสัมพันธ์กับทัศนติทางเพศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ความคิดหมกมุ่น (r=0.18, p<0.001 และ r=0.30, p< 0.001 ตามลำดับ) การยิมยอมมีเพศสัมพันธ์ (r=0.28, p<0.001 และ r=0.19, p<0.001 ตามลำดับ) แรงผลักดันภายในและภายนอกต่อการร่วมกิจกรรมทางเศ (r=0.13, p=0.003 และ r=0.10, p=0.028 ตามลำดับ) ทัศนคติทางลบเกี่ยวกับเรื่องเพศ (r=-0.16, p<0.001 และ r=-0.01, p<0.05 ตามลำดับ) และความลังเลใจเกี่ยวกับเรื่องเพศ (r=0.34, p<0.001 and r=0.25, p<0.001 ตามลำดับ นักเรียนมัธยมศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร ใช้เวลากับอินเทอร์เน็และสื่อสังคมออนไลน์เกินกว่าครึ่งต่อวัน และพบว่ายิ่งมีการเข้าใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เกี่ยวกับเรื่องทางเพศมากก็ยิ่งสัมพันธ์กับทัศนคติและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศมากด้วย
Description
Child, Adolescent and Family Psychology (Mahidol University 2015)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Child, Adolescent and Family Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University