The association among internet use behavior, sexual attitudes and behaviors in grade 7th-12th students in Thai educational system in Bangkok
dc.contributor.advisor | Komsan Kiatrungrit | |
dc.contributor.advisor | Sirichai Hongsanguansri | |
dc.contributor.advisor | Chosita Pavasuhipaisit | |
dc.contributor.author | Nitinai Thonglua | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T04:06:52Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T04:06:52Z | |
dc.date.copyright | 2015 | |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 2015 | |
dc.description | Child, Adolescent and Family Psychology (Mahidol University 2015) | |
dc.description.abstract | The research aimed to study the association between the patterns of Internet/Social media use and sexual attitudes/behaviors in secondary school students in Bangkok. This was a cross-sectional survey study. Participants were recruited by simple random sampling from 6 schools in Bangkok. They were asked to complete the Internet use questionnaire and the modified version of the Sexual Activities and Attitudes Questionnaire (SAAQ) by themselves in a semi-privacy context. The Participants were 522 students, Two hundred and forty-four (44.5%) were males and 278 (55.5%) were females with a mean age of 15.1 ± 1.7 years. They spent 12.9 hours/day with all types of media use on weekdays and 13.4 hours/day on weekends. They spent about 2.0 and 1.3 hours/week accessing sexual materials on the Internet and social media, respectively. Fifty seven (10.9%) students had sexual intercourse experience by the age of the first sexual intercourse of 14.5 ± 1.6 years. Nine (15.8) of them had more than 2 partners in the previous year. There were statistically significant associations between time spent accessing sexual materials on the Internet/social media and sexual preoccupation (r=0.48, P<0.001 and r=0.30, p<0.001 for Internet use and social media, respectively), sexual permissiveness (r=0.28, p<0.001 and r=0.19, P<0.001, respectively), internal and external pressure to engage in sex (r=0.13), p=0.003 and r=-0.01, P<0.05, respectively) and sexual ambivalence (r=0.34, P<0.001 and r=0.25, p<0.001, respectively) The secondary school students in Bangkok spent more than half a day on the Internet or media use. The amount of time they spent accessing sexual contents was associated with risk sexual attitudes and sexual behaviors. | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตกับทัศนคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ในระบบการศึกษาแบบสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร เป็นการสำรวจ ภาคตัดขวาง ผู้เข้าร่วมวิจัยได้รับการคัดเลือกด้วยกระบวนการสุ่มอย่างง่ายจาก 6 โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองที่เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตและทัศนคติ/พฤติกรรมทางเพศ ซึ่งแบบสอบถามถูกดัดแปลงจา The sexual activities and attitudes questionnaire (SAAQ) ในบริบทที่มีความเป็นส่วนตัว มีผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 522 เป็นเพศชาย 244 คน (ร้อยละ 44.5) เพศหญิง 278 คน (ร้อยละ 55.5) มีอายุเฉลี่ย 15.1 ± 1.7 ปี พบว่ามีการใช้สื่อทุกประเภทในวันธรรดาเป็นเวลาเฉลี่ย 12.9 ชม./วัน และเวลาเฉลี่ย 2.0 ชม./สัปดาห์ และ 1. ชม./สัปดาห์ ตามลำดับ กลุ่มตัวอย่าง 57 คน (ร้อยละ 10.9) เคยมีเพศสัมพันธ์โดยมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกที่อายุฉลี่ย 14.5 ± 1.6 ปีและ 15 คน (ร้อยละ 26.4) มีเพศสัมพันธ์กับคู่รักมากกว่า 2 คน เมื่อปีที่ผ่านมา ผลการศึกษาพบว่าเวลาในการใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เกี่ยวกับเรื่องเพศมีความสัมพันธ์กับทัศนติทางเพศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ความคิดหมกมุ่น (r=0.18, p<0.001 และ r=0.30, p< 0.001 ตามลำดับ) การยิมยอมมีเพศสัมพันธ์ (r=0.28, p<0.001 และ r=0.19, p<0.001 ตามลำดับ) แรงผลักดันภายในและภายนอกต่อการร่วมกิจกรรมทางเศ (r=0.13, p=0.003 และ r=0.10, p=0.028 ตามลำดับ) ทัศนคติทางลบเกี่ยวกับเรื่องเพศ (r=-0.16, p<0.001 และ r=-0.01, p<0.05 ตามลำดับ) และความลังเลใจเกี่ยวกับเรื่องเพศ (r=0.34, p<0.001 and r=0.25, p<0.001 ตามลำดับ นักเรียนมัธยมศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร ใช้เวลากับอินเทอร์เน็และสื่อสังคมออนไลน์เกินกว่าครึ่งต่อวัน และพบว่ายิ่งมีการเข้าใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เกี่ยวกับเรื่องทางเพศมากก็ยิ่งสัมพันธ์กับทัศนคติและพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศมากด้วย | |
dc.format.extent | ix, 114 leaves : ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Child, Adolescent and Family Psychology))--Mahidol University, 2015 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94014 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Internet users -- Psychology | |
dc.subject | Internet -- Psychological aspects | |
dc.subject | Students -- Sexual behavior -- Thailand -- Bangkok | |
dc.subject | Students -- Thailand -- Bangkok -- Sexual behavior | |
dc.title | The association among internet use behavior, sexual attitudes and behaviors in grade 7th-12th students in Thai educational system in Bangkok | |
dc.title.alternative | ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตกับทัศนคติและพฤติกรรมทางเพศของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ในระบบการศึกษา กรุงเทพมหานคร | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2558/510/5638592.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital | |
thesis.degree.discipline | Child, Adolescent and Family Psychology | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |