The relationships among life events, social support, and self-esteem of adolescents in a Charity Boarding School
Issued Date
2000
Copyright Date
2000
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 86 leaves : ill.
ISBN
9746645552
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.N.S. (Community Health Nursing))--Mahidol University, 2000
Suggested Citation
Jaroonrat Rodniam The relationships among life events, social support, and self-esteem of adolescents in a Charity Boarding School. Thesis (M.N.S. (Community Health Nursing))--Mahidol University, 2000. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/108629
Title
The relationships among life events, social support, and self-esteem of adolescents in a Charity Boarding School
Alternative Title(s)
ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ในชีวิตแรงสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของวัยรุ่นในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่ง
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
The purposes of this survey study are to explore negative and positive life events, level of social support and self-esteem, the difference between self-
esteem scores of males and females, the relationships among age, feelings toward negative and positive life events, social support and self-esteem in adolescents. The influence of these variables on self-esteem was also explored. The sample for this study comprised 445 school children of grades 7th - 12th in the 19th Rachaprachanukroa (under Royal patronage) School, Thungsong District, Nakhon Sri Thammarat province. The data were collected between February 2 and March 10, 2000 using the Adolescent Self-Assessment and Report Questionnaire (ASARQ). Statistics used for data analysis were percentages, means, standard deviation, independent t-test, Pearson's Product Moment Correlation and Stepwise multiple regression. The results showed that the largest portion of the studied samples reported death of influential relative (43.60%) and having a warm family (22.22%) as a negative and a positive life event, respectively. Most of them had moderate to high self-esteem (52.1%) and had moderate social support (66.1%). There was no significant difference between males' and females' self-esteem scores. The findings revealed a positive correlation between feelings toward positive life events and social support to self-esteem with the correlation coefficient (r) =. 122 (p <. 05) and .486 (p <. 01), respectively. Age and feelings toward positive life events were significantly associated with social support, the correlation coefficient (r) = .216 (p <. 01) and .196 (p <. 01), respectively. Social support was the only one factor among all studied variables found to be influential adolescents' self-esteem scores (R2 =. 237, p <. 001). Overall results from this study provide more understanding of life events in adolescents and the importance of social support to enhancing self-esteem thus leading to the development of appropriate measures in schools to foster self-esteem in adolescents particularly with reference to school nursing services.
การศึกษาเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเหตุการณ์ในชีวิตทางลบและทางบวก แรง สนับสนุนทางสังคม ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชายต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และ ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ความรู้สึกต่อเหตุการณ์ในชีวิตทางลบและทางบวก แรงสนับสนุนทางสังคม และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง รวมถึงหาอิทธิพลของตัวแปรเหล่านี้ต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ นักเรียนชั้น ม.1 - ม.6 จำนวน 445 คน โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 19 อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช เก็บข้อมูลโดยให้วัยรุ่นตอบแบบสอบถามประเมินด้วยตนเอง ในระหว่างวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ถึง 10 มีนาคม 2543 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการถดถอยพหูคูณ พบว่าวัยรุ่นในกลุ่มที่ศึกษาส่วนใหญ่รายงานว่าเหตุการณ์ในชีวิตทางลบ คือ ญาติเสียชีวิต (43.60%) ส่วนเหตุการณ์ในชีวิตทางบวกคือ การมีครอบครัวที่อบอุ่น (22.22%) ร้อยละ 52.1 มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองในระดับปานกลางค่อนข้างสูง เพศหญิงและเพศชายมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองไม่แตกต่างกัน ร้อยละ 66.1 ได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมในระดับปานกลาง ความรู้สึกต่อเหตุการณ์ในชีวิตทางบวกและแรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรู้สึกมีคุณค่าใน ตนเอง (r = .122, r = .486 p< .05 และ .01 ตามลำดับ) อายุ และความรู้สึกต่อเหตุการณ์ในชีวิตทางบวกมีความสัมพันธ์กับแรงสนับสนุนทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 216, r = .196 p< .01) และพบว่าแรงสนับสนุนทางสังคมเป็นตัวแปรที่มี อิทธิพลต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของวัยรุ่น (R2 = .237, p <. 001) จากผลการศึกษานี้ ทำให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในชีวิตและความสำคัญของแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของวัยรุ่น ซึ่งจะเป็นแนวทางสำหรับพยาบาลอนามัยโรงเรียนในการส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองแก่วัยรุ่นในโรงเรียนต่อไป
การศึกษาเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเหตุการณ์ในชีวิตทางลบและทางบวก แรง สนับสนุนทางสังคม ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความแตกต่างระหว่างเพศหญิงและเพศชายต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และ ความสัมพันธ์ระหว่างอายุ ความรู้สึกต่อเหตุการณ์ในชีวิตทางลบและทางบวก แรงสนับสนุนทางสังคม และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง รวมถึงหาอิทธิพลของตัวแปรเหล่านี้ต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือ นักเรียนชั้น ม.1 - ม.6 จำนวน 445 คน โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 19 อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช เก็บข้อมูลโดยให้วัยรุ่นตอบแบบสอบถามประเมินด้วยตนเอง ในระหว่างวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ถึง 10 มีนาคม 2543 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการถดถอยพหูคูณ พบว่าวัยรุ่นในกลุ่มที่ศึกษาส่วนใหญ่รายงานว่าเหตุการณ์ในชีวิตทางลบ คือ ญาติเสียชีวิต (43.60%) ส่วนเหตุการณ์ในชีวิตทางบวกคือ การมีครอบครัวที่อบอุ่น (22.22%) ร้อยละ 52.1 มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองในระดับปานกลางค่อนข้างสูง เพศหญิงและเพศชายมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองไม่แตกต่างกัน ร้อยละ 66.1 ได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมในระดับปานกลาง ความรู้สึกต่อเหตุการณ์ในชีวิตทางบวกและแรงสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความรู้สึกมีคุณค่าใน ตนเอง (r = .122, r = .486 p< .05 และ .01 ตามลำดับ) อายุ และความรู้สึกต่อเหตุการณ์ในชีวิตทางบวกมีความสัมพันธ์กับแรงสนับสนุนทางสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 216, r = .196 p< .01) และพบว่าแรงสนับสนุนทางสังคมเป็นตัวแปรที่มี อิทธิพลต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของวัยรุ่น (R2 = .237, p <. 001) จากผลการศึกษานี้ ทำให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ในชีวิตและความสำคัญของแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของวัยรุ่น ซึ่งจะเป็นแนวทางสำหรับพยาบาลอนามัยโรงเรียนในการส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองแก่วัยรุ่นในโรงเรียนต่อไป
Description
Community Health Nursing (Mahidol University 2000)
Degree Name
Master of Nursing Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Community Health Nursing
Degree Grantor(s)
Mahidol University