Impacts of an inquiry mastery digital game-based learning approach on students' achievements and perceptions in learning science concepts
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
x, 80 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Narisra Komalawardhana Impacts of an inquiry mastery digital game-based learning approach on students' achievements and perceptions in learning science concepts. Thesis (Ph.D. (Science and Technology Education))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92234
Title
Impacts of an inquiry mastery digital game-based learning approach on students' achievements and perceptions in learning science concepts
Alternative Title(s)
ผลของการใช้เกมแบบดิจิทัลโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการเรียนรู้จริงเป็นฐานเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนและการรับรู้ในมโนมติวิทยาศาสตร์
Author(s)
Abstract
In recent years, many studies have reported the benefits of the digital game-based learning in supporting and enhancing students' learning performance and revealed that learning strategy-driven digital game could encourage knowledge construction. Well-designed digital game-based learning environment has been becoming a challenge and crucial research issue. Inquiry-based learning approach has been recognized as an excellent teaching and learning strategy to engage students in constructing knowledge and to make learning more meaningful. Moreover, mastery learning approach has been employed to ensure that all learning objectives could be achieved. In this research, an inquiry mastery digital game-based learning approach was developed in two phases. The first phase evaluated perception and learning interest of students who had different genders and learning styles in the developed digital game-based scientific inquiry approach. The second phase extended the conventional approach into the inquiry mastery digital game-based learning approach by considering personalized achievement level. These two studies revealed that the students had good attitude and learning interest in the digital game based scientific inquiry approach with no gap between gender and learning style. Moreover, the inquiry mastery digital game-based learning approach by considering personalized achievement level could improve the students' learning performance better than the conventional inquiry mastery digital-game based approach. This research suggested that the development of a personalized digital game-based learning with the appropriate learning pedagogies, such as inquiry-based learning and mastery learning approaches improve the students' learning performances in terms of cognitive and affective domains.
ด้วยประโยชน์และความก้าวหน้าของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้ เกมแบบ ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเรียน โดยการ ผสมผสานกระบวนการเรียนการสอนกับรูปแบบของเกมการเรียนรู้แบบดิจิทัลนั้นจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการผลักดันและกระตุ้นให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ได้ กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สามารถสร้างเสริมองค์ความรู้และผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ นอกจากนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้ผ่านกลวิธีการเรียนรู้จริงเป็นฐานในแต่ละด่าน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละด่านของเกม ดังนั้น การศึกษานี้จะนำเสนอกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการเรียนรู้จริงเป็นฐานเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน นอกจากนี้ปัจจัยส่วนบุคคลหรือสถานะการรับรู้จำเพาะบุคคลส่งผลกระทบต่อการใช้เกมการเรียนรู้แบบดิจิทัล ในงานวิจัยนี้ปัจจัยด้านความแตกต่างของเพศและลักษณะการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนจึงถูกนำมาศึกษาวิเคราะห์เพิ่มเติมและอธิบายถึงผลกระทบด้านบุคคลที่มีผลต่อการยอมรับการเรียนรู้ผ่านเกมแบบดิจิทัลที่จะพัฒนาขึ้นมานี้
ด้วยประโยชน์และความก้าวหน้าของการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนรู้ เกมแบบ ดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเรียน โดยการ ผสมผสานกระบวนการเรียนการสอนกับรูปแบบของเกมการเรียนรู้แบบดิจิทัลนั้นจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการผลักดันและกระตุ้นให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ได้ กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สามารถสร้างเสริมองค์ความรู้และผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ นอกจากนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้ผ่านกลวิธีการเรียนรู้จริงเป็นฐานในแต่ละด่าน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละด่านของเกม ดังนั้น การศึกษานี้จะนำเสนอกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะร่วมกับกลวิธีการเรียนรู้จริงเป็นฐานเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน นอกจากนี้ปัจจัยส่วนบุคคลหรือสถานะการรับรู้จำเพาะบุคคลส่งผลกระทบต่อการใช้เกมการเรียนรู้แบบดิจิทัล ในงานวิจัยนี้ปัจจัยด้านความแตกต่างของเพศและลักษณะการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนจึงถูกนำมาศึกษาวิเคราะห์เพิ่มเติมและอธิบายถึงผลกระทบด้านบุคคลที่มีผลต่อการยอมรับการเรียนรู้ผ่านเกมแบบดิจิทัลที่จะพัฒนาขึ้นมานี้
Description
Science and Technology Education (Mahidol University 2018)
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Institute for Innovative Learning
Degree Discipline
Science and Technology Education
Degree Grantor(s)
Mahidol University