Effects of 40% oxygen supplemental during recovery period of repeated exercise bouts on rate of recovery
Issued Date
2011
Copyright Date
2011
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 79 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2011
Suggested Citation
Ophas Aksornchanya Effects of 40% oxygen supplemental during recovery period of repeated exercise bouts on rate of recovery. Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2011. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94967
Title
Effects of 40% oxygen supplemental during recovery period of repeated exercise bouts on rate of recovery
Alternative Title(s)
ผลของการให้ 40 เปอร์เซ็นต์ออกซิเจนในช่วงระยะเวลาพักของการออกกำลังกายแบบแบ่งเป็นช่วงต่ออัตราการฟื้นตัว
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการให้ 40 เปอร์เซ็นต์ออกซิเจนในช่วง ระยะเวลาพักของการออกกำาลังกายแบบแบ่งเป็นช่วงต่ออัตราการฟื้นตัว กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักศึกษา เพศชายสุขภาพดีจำานวน 12 คน อายุระหว่าง 18-23 ปี ให้ออกกำาลังกายโดยถีบจักรยานวัดงานที่ระดับความ หนัก 70% VO2peak โดยแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 (Ex1) และ 2 (Ex2) เป็นเวลา 5 นาที และช่วงที่ 3 (Ex3) ปั่น ที่ระดับความหนัก 70% VO2peak และเพิ่มความหนัก 25 วัตต์ ทุกๆ 2 นาที ปั่นจนกระทั่งผู้เข้ารับการทดลอง หมดแรงหรือไม่สามารถปั่นต่อได้ โดยในช่วงเวลาพักของการออกกำาลังกายแบบแบ่งเป็นช่วง กลุ่มตัวอย่างนั่ง พักบนจักรยานวัดงาน และมีกิจกรรมขณะพักแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ แบบที่ 1. ให้นั่งพักตามปกติ และ แบบที่ 2. ให้หายใจด้วยออกซิเจน 40 % วัดตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับอัตราการฟื้นตัว ได้แก่ ความเข้มข้นของกรด แลคติก, อัตราการเต้นของหัวใจ, ความอิ่มตัวออกซิเจนของฮีโมโกลบินและค่าระดับความเหนื่อย วัดทันทีภาย หลังการล้า (T0) และในนาทีที่ 2, 4 และ 6 (T2, T4, T6) รวมถึงบันทึกระยะเวลาตั้งแต่เริ่มออกกำาลังกายจนหมด แรงโดยเริ่มบันทึกตั้งแต่เริ่มการออกกำาลังกายในช่วงที่ 3 (Ex3) จนกระทั่งผู้เข้ารับการทดลองหมดแรงหรือไม่ สามารถปั่นต่อได้ ผลการศึกษาพบว่า เมื่อวิเคราะห์ความเข้มข้นของกรดแลคติกในเลือดและอัตราการเต้นของหัวใจ ของทั้งสองกลุ่มพบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในเลือดใน กลุ่ม 40 % ออกซิเจนในนาทีที่ 4 และ 6 มีค่าสูงกว่าอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มนั่งพักตาม ปกติ ดัชนีความเหนื่อยในกลุ่ม 40 % ออกซิเจน ในนาทีที่ 4 มีค่าต่ำา กว่าอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติเมื่อเปรียบ เทียบกับกลุ่มนั่งพักตามปกติ และระยะเวลาตั้งแต่เริ่มออกกำาลังกายจนหมดแรงของทั้งสองกลุ่มพบว่ามีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ( p < 0.05) จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า การให้ออกซิเจนที่ความเข้มข้น 40 % ในช่วงระยะเวลาพักของการออกกำาลังกายแบบแบ่งเป็นช่วงนั้นไม่มีผลต่อระบบสรีรวิทยาของการฟื้ นตัว จากการออกกำาลังกายหรือคืนสู่สภาพปกติได้เร็วขึ้น
Description
Sports Science (Mahidol University 2011)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Sports Science and Technology
Degree Discipline
Sports Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University