Effects of 40% oxygen supplemental during recovery period of repeated exercise bouts on rate of recovery

dc.contributor.advisorChakarg Pongurgsorn
dc.contributor.advisorTossaporn Yimlamai
dc.contributor.advisorThyon Chentanez
dc.contributor.authorOphas Aksornchanya
dc.date.accessioned2024-02-07T02:13:27Z
dc.date.available2024-02-07T02:13:27Z
dc.date.copyright2011
dc.date.created2011
dc.date.issued2011
dc.descriptionSports Science (Mahidol University 2011)
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการให้ 40 เปอร์เซ็นต์ออกซิเจนในช่วง ระยะเวลาพักของการออกกำาลังกายแบบแบ่งเป็นช่วงต่ออัตราการฟื้นตัว กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักศึกษา เพศชายสุขภาพดีจำานวน 12 คน อายุระหว่าง 18-23 ปี ให้ออกกำาลังกายโดยถีบจักรยานวัดงานที่ระดับความ หนัก 70% VO2peak โดยแบ่งเป็น 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 (Ex1) และ 2 (Ex2) เป็นเวลา 5 นาที และช่วงที่ 3 (Ex3) ปั่น ที่ระดับความหนัก 70% VO2peak และเพิ่มความหนัก 25 วัตต์ ทุกๆ 2 นาที ปั่นจนกระทั่งผู้เข้ารับการทดลอง หมดแรงหรือไม่สามารถปั่นต่อได้ โดยในช่วงเวลาพักของการออกกำาลังกายแบบแบ่งเป็นช่วง กลุ่มตัวอย่างนั่ง พักบนจักรยานวัดงาน และมีกิจกรรมขณะพักแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ แบบที่ 1. ให้นั่งพักตามปกติ และ แบบที่ 2. ให้หายใจด้วยออกซิเจน 40 % วัดตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับอัตราการฟื้นตัว ได้แก่ ความเข้มข้นของกรด แลคติก, อัตราการเต้นของหัวใจ, ความอิ่มตัวออกซิเจนของฮีโมโกลบินและค่าระดับความเหนื่อย วัดทันทีภาย หลังการล้า (T0) และในนาทีที่ 2, 4 และ 6 (T2, T4, T6) รวมถึงบันทึกระยะเวลาตั้งแต่เริ่มออกกำาลังกายจนหมด แรงโดยเริ่มบันทึกตั้งแต่เริ่มการออกกำาลังกายในช่วงที่ 3 (Ex3) จนกระทั่งผู้เข้ารับการทดลองหมดแรงหรือไม่ สามารถปั่นต่อได้ ผลการศึกษาพบว่า เมื่อวิเคราะห์ความเข้มข้นของกรดแลคติกในเลือดและอัตราการเต้นของหัวใจ ของทั้งสองกลุ่มพบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในเลือดใน กลุ่ม 40 % ออกซิเจนในนาทีที่ 4 และ 6 มีค่าสูงกว่าอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มนั่งพักตาม ปกติ ดัชนีความเหนื่อยในกลุ่ม 40 % ออกซิเจน ในนาทีที่ 4 มีค่าต่ำา กว่าอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติเมื่อเปรียบ เทียบกับกลุ่มนั่งพักตามปกติ และระยะเวลาตั้งแต่เริ่มออกกำาลังกายจนหมดแรงของทั้งสองกลุ่มพบว่ามีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ( p < 0.05) จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า การให้ออกซิเจนที่ความเข้มข้น 40 % ในช่วงระยะเวลาพักของการออกกำาลังกายแบบแบ่งเป็นช่วงนั้นไม่มีผลต่อระบบสรีรวิทยาของการฟื้ นตัว จากการออกกำาลังกายหรือคืนสู่สภาพปกติได้เร็วขึ้น
dc.format.extentxii, 79 leaves : ill.
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationThesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2011
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94967
dc.language.isoeng
dc.publisherMahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderMahidol University
dc.subjectExercise -- Physiological aspects
dc.subjectLactates -- blood
dc.subjectOxygen Consumption -- physiology
dc.titleEffects of 40% oxygen supplemental during recovery period of repeated exercise bouts on rate of recovery
dc.title.alternativeผลของการให้ 40 เปอร์เซ็นต์ออกซิเจนในช่วงระยะเวลาพักของการออกกำลังกายแบบแบ่งเป็นช่วงต่ออัตราการฟื้นตัว
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2553/cd447.1/4836658.pdf
thesis.degree.departmentCollege of Sports Science and Technology
thesis.degree.disciplineSports Science
thesis.degree.grantorMahidol University
thesis.degree.levelMaster's degree
thesis.degree.nameMaster of Science

Files