The effect of group dynamics on aggressive behavior reduction among slum children
Issued Date
2011
Copyright Date
2011
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
viii, 105 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2011
Suggested Citation
Sarinee Uahkittikul The effect of group dynamics on aggressive behavior reduction among slum children. Thesis (M.Sc. (Human Development))--Mahidol University, 2011. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94969
Title
The effect of group dynamics on aggressive behavior reduction among slum children
Alternative Title(s)
ผลของกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ที่มีต่อการลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กในชุมชนแออัด
Author(s)
Abstract
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ที่มีต่อการลดพฤติกรรม ก้าวร้าวของเด็ก อายุ 9-13 ปี ที่อาศัยอยู่ในชุมชนแออัดแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน โดยกลุ่มทดลองเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้ง ละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 12 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุม ไม่รับกิจกรรมใดๆ เลย ทำการประเมินพฤติกรรมด้วยแบบ วัดพฤติกรรมก้าวร้าว ก่อนการทดลอง และหลังจากสิ้นสุดการทดลองทันที วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจง ความถี่, ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, Chi-square test, Independent t-test และ Paired t-test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความก้าวร้าวเฉลี่ยลดลงกว่าก่อนการ ทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนความก้าวร้าวต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) จากผลการวิจัยแสดงว่า การเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อลดพฤติกรรมก้าวร้าว สามารถช่วย ลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเด็กในชุมชนแออัดได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็ก อันได้แก่ ครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน สามารถนำโปรแกรมกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางแก้ไขปัญหาและ ปฏิบัติการปรับพฤติกรรมก้าวร้าว สอนให้เด็กเรียนรู้เทคนิคการควบคุมตนเอง พัฒนาความคิด ค่านิยม และ พฤติกรรมที่เหมาะสม อันจะสามารถพัฒนาตนเองสู่การเป็นมนุษย์ที่มีคุณค่าในฐานะเยาวชนและพลเมืองที่ดีของ ประเทศชาติต่อไป
Description
Human Development (Mahidol University 2011)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
National Institute for Child and Family Development
Degree Discipline
Human Development
Degree Grantor(s)
Mahidol University