Effects of coloring mandala on anxiety and attention-concentration : a case study of freshmen undergraduate students among one of national universities
Issued Date
2024
Copyright Date
2018
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 101 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2018
Suggested Citation
Napawan Munpansa Effects of coloring mandala on anxiety and attention-concentration : a case study of freshmen undergraduate students among one of national universities. Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2018. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91775
Title
Effects of coloring mandala on anxiety and attention-concentration : a case study of freshmen undergraduate students among one of national universities
Alternative Title(s)
ผลของการระบายสีภาพแมนดาลาต่อความวิตกกังวลและความสนใจ-สมาธิ : กรณีศึกษาในนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จากสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐแห่งหนึ่ง
Author(s)
Abstract
This case study was a quasi-experimental research, aiming to explore the effects of coloring Mandala on anxiety and attention-concentration in 39 freshman students from an autonomous institution. The researcher randomly assigned them into two groups: experimental (coloring) and control groups. Anxiety and attention concentration scores were measured by TMHQ-Anxiety domain and Digit Span test in pretest and posttest. After pretest, the experimental group attended to 8 sessions of Coloring Mandala activity for 4 weeks. Descriptive Statistic, Mann-Whitney U Test, and Wilcoxon Signed Ranks Test were used in data analysis. The results showed no statistical difference between pretest and posttest in anxiety scores of the experimental group. Therefore, we further divided the experimental group into two groups: a group with normal anxiety group and a group with high anxiety group, and we found that anxiety score of the experimental group with high anxiety level statistical significantly decreased in the posttest (pre-test 1.89±.375, post-test 1.59±.474, p-value=.041). Attention-concentration score, was found to statistically increase in the experimental group (pre-test 19.89±3.348, posttest 22.00±3.162, p-value=.003). The coloring Mandala activity effectively reduced anxiety in high anxiety participants and also improved attention-concentration in both high and normal anxiety participants.
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการระบายสีภาพแมนดาลา ต่อความวิตกกังวลและความสนใจ-สมาธิในกลุ่มตัวอย่างนิสิตชั้นปี ที่ 1 จากสถาบันอุดมศึกษาแห่งหนึ่งจำนวน 39 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มควบคุม 20 คนและกลุ่มทดลอง 19 คน โดยเปรียบเทียนคะแนนก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมระบายสีภาพแมนดาลาต่อเนื่อง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 20-30 นาที เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบประเมินสุขภาพจิตในคนไทยด้านความวิตกกังวล แบบวัด Digit Span และแบบสอบถามความคิดเห็น การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยใช้สถิติเชิงบรรยาย โดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ Wilcoxon Signed Ranks Test, Mann-Whitney U Test ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มและภายในกลุ่ม จากผลการวิจัยไม่พบความเปลี่ยนแปลงของคะแนนเฉลี่ยด้านความวิตกกังวลในกลุ่มทดลอง แต่พบว่ากลุ่มทดลองที่มีความวิตกกังวลระดับสูงมีคะแนนลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pre 1.89±.375, post 1.59±.474, p-value=.041) ด้านความสนใจ-สมาธิ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองมี คะแนนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pre 19.89±3.348, post 22.00±3.162, pvalue=.003) การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมระบายสีภาพแมนดาลาช่วยลดความวิตกกังวลในกลุ่มทดลองที่มีความวิตกกังวลสูง และช่วยเพิ่มความสนใจ-สมาธิได้
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาผลของการระบายสีภาพแมนดาลา ต่อความวิตกกังวลและความสนใจ-สมาธิในกลุ่มตัวอย่างนิสิตชั้นปี ที่ 1 จากสถาบันอุดมศึกษาแห่งหนึ่งจำนวน 39 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มควบคุม 20 คนและกลุ่มทดลอง 19 คน โดยเปรียบเทียนคะแนนก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมระบายสีภาพแมนดาลาต่อเนื่อง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ครั้งละ 20-30 นาที เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบประเมินสุขภาพจิตในคนไทยด้านความวิตกกังวล แบบวัด Digit Span และแบบสอบถามความคิดเห็น การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยใช้สถิติเชิงบรรยาย โดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ Wilcoxon Signed Ranks Test, Mann-Whitney U Test ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มและภายในกลุ่ม จากผลการวิจัยไม่พบความเปลี่ยนแปลงของคะแนนเฉลี่ยด้านความวิตกกังวลในกลุ่มทดลอง แต่พบว่ากลุ่มทดลองที่มีความวิตกกังวลระดับสูงมีคะแนนลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pre 1.89±.375, post 1.59±.474, p-value=.041) ด้านความสนใจ-สมาธิ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองมี คะแนนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pre 19.89±3.348, post 22.00±3.162, pvalue=.003) การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมระบายสีภาพแมนดาลาช่วยลดความวิตกกังวลในกลุ่มทดลองที่มีความวิตกกังวลสูง และช่วยเพิ่มความสนใจ-สมาธิได้
Description
Clinical Psychology (Mahidol University 2018)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Clinical Psychology
Degree Grantor(s)
Mahidol University