A study of the effects of harmony listening on wind instrument students to enhance music performance
Issued Date
2024
Copyright Date
2017
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 189 leaves : ill., music
Access Rights
open access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2017
Suggested Citation
Prapassorn Puangsamlee A study of the effects of harmony listening on wind instrument students to enhance music performance. Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2017. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91653
Title
A study of the effects of harmony listening on wind instrument students to enhance music performance
Alternative Title(s)
การศึกษาผลกระทบด้านการฟังฮาร์โมนีสำหรับนักเรียนดนตรีประเภทเครื่องเป่าเพื่อเสริมสร้างคุณภาพทางด้านการแสดงดนตรี
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
In this dissertation, the researcher would like to investigate the effects of harmony listening of the first-year wind students (M.4), who did not have a chance to play any harmonic instruments before, and received the score of not higher than 69 percent on the aural skills exam in grade 9 from the TIME examination center. To gain the in-depth information in this study, the researcher employed a qualitative case study to do the observation, sound recording, field notes, and interview. The results from the study found that: 1) the students who practiced with RHS were unconfident to play, 2) the students who felt familiar to play with RHS could remember the feeling of characteristic of a harmony, tone color, and intonation, 3) practicing with RHS could support the wind students to have a better understanding in intonation, tone color, characteristic of a harmony, direction of a melody, and to be better in music interpretation, 4) practicing with RHS made the participants to determine the goal to practice, 5) performing with RSH made students to practice more often.
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจากการฟังฮาร์โมนีของนักเรียนเครื่องเป่า ชั้น ม.4 หลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี ที่ไม่มีประสบการณ์การเล่นเครื่องดนตรีที่สร้างเสียงฮาร์โมนีและได้คะแนนสอบโสตทักษะ เกรด 9 ของศูนย์สอบเทียบดนตรีแห่งประเทศไทยไม่เกิน 69 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา เก็บข้อมูลจากการสังเกตการซ้อม บันทึกเสียง การจดบันทึกภาคสนามและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี มีผลต่อการเล่นของนักเรียนเครื่องเป่า ดังนี้ 1) สาหรับนักเรียนเครื่องเป่าที่ไม่คุ้นเคยกับการฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีควบคู่ไปด้วยนั้น การฟังฮาร์โมนีจะสร้างความไม่มั่นใจให้กับนักเรียนเครื่องเป่า 2) นักเรียนเครื่องเป่าที่มีประสบการณ์จากการฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถจดจำลักษณะของเสียงในแต่ละฮาร์โมนี สีสันของเสียงและอินโทเนชั่นได้ดี 3) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีนั้นช่วยพัฒนาให้นักเรียนเครื่องเป่ามีความเข้าใจในเรื่องของอินโทเนชั่น สีสันของเสียง ลักษณะของเสียงในแต่ละฮาร์โมนี ทิศทางของแนวทำนองและการตีความบทเพลงได้ดีขึ้น 4) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี มีส่วนช่วยในการทำให้นักเรียนเครื่องเป่าสามารถกำหนดเป้าหมายในการซ้อมได้ชัดเจนมากขึ้น 5) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี ช่วยสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนเครื่องเป่า มีความสนใจในการฝึกซ้อมมากขึ้น
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจากการฟังฮาร์โมนีของนักเรียนเครื่องเป่า ชั้น ม.4 หลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี ที่ไม่มีประสบการณ์การเล่นเครื่องดนตรีที่สร้างเสียงฮาร์โมนีและได้คะแนนสอบโสตทักษะ เกรด 9 ของศูนย์สอบเทียบดนตรีแห่งประเทศไทยไม่เกิน 69 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา เก็บข้อมูลจากการสังเกตการซ้อม บันทึกเสียง การจดบันทึกภาคสนามและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี มีผลต่อการเล่นของนักเรียนเครื่องเป่า ดังนี้ 1) สาหรับนักเรียนเครื่องเป่าที่ไม่คุ้นเคยกับการฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีควบคู่ไปด้วยนั้น การฟังฮาร์โมนีจะสร้างความไม่มั่นใจให้กับนักเรียนเครื่องเป่า 2) นักเรียนเครื่องเป่าที่มีประสบการณ์จากการฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถจดจำลักษณะของเสียงในแต่ละฮาร์โมนี สีสันของเสียงและอินโทเนชั่นได้ดี 3) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีนั้นช่วยพัฒนาให้นักเรียนเครื่องเป่ามีความเข้าใจในเรื่องของอินโทเนชั่น สีสันของเสียง ลักษณะของเสียงในแต่ละฮาร์โมนี ทิศทางของแนวทำนองและการตีความบทเพลงได้ดีขึ้น 4) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี มีส่วนช่วยในการทำให้นักเรียนเครื่องเป่าสามารถกำหนดเป้าหมายในการซ้อมได้ชัดเจนมากขึ้น 5) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี ช่วยสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนเครื่องเป่า มีความสนใจในการฝึกซ้อมมากขึ้น
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Mahidol University. College of Music
Degree Discipline
Music
Degree Grantor(s)
Mahidol University