A study of the effects of harmony listening on wind instrument students to enhance music performance
dc.contributor.advisor | Fyr, Kyle | |
dc.contributor.advisor | Anak Charanyananda | |
dc.contributor.advisor | Ni-on Tayrattanachai | |
dc.contributor.author | Prapassorn Puangsamlee | |
dc.date.accessioned | 2024-01-03T06:02:07Z | |
dc.date.available | 2024-01-03T06:02:07Z | |
dc.date.copyright | 2017 | |
dc.date.created | 2017 | |
dc.date.issued | 2024 | |
dc.description.abstract | In this dissertation, the researcher would like to investigate the effects of harmony listening of the first-year wind students (M.4), who did not have a chance to play any harmonic instruments before, and received the score of not higher than 69 percent on the aural skills exam in grade 9 from the TIME examination center. To gain the in-depth information in this study, the researcher employed a qualitative case study to do the observation, sound recording, field notes, and interview. The results from the study found that: 1) the students who practiced with RHS were unconfident to play, 2) the students who felt familiar to play with RHS could remember the feeling of characteristic of a harmony, tone color, and intonation, 3) practicing with RHS could support the wind students to have a better understanding in intonation, tone color, characteristic of a harmony, direction of a melody, and to be better in music interpretation, 4) practicing with RHS made the participants to determine the goal to practice, 5) performing with RSH made students to practice more often. | |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจากการฟังฮาร์โมนีของนักเรียนเครื่องเป่า ชั้น ม.4 หลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี ที่ไม่มีประสบการณ์การเล่นเครื่องดนตรีที่สร้างเสียงฮาร์โมนีและได้คะแนนสอบโสตทักษะ เกรด 9 ของศูนย์สอบเทียบดนตรีแห่งประเทศไทยไม่เกิน 69 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา เก็บข้อมูลจากการสังเกตการซ้อม บันทึกเสียง การจดบันทึกภาคสนามและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี มีผลต่อการเล่นของนักเรียนเครื่องเป่า ดังนี้ 1) สาหรับนักเรียนเครื่องเป่าที่ไม่คุ้นเคยกับการฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีควบคู่ไปด้วยนั้น การฟังฮาร์โมนีจะสร้างความไม่มั่นใจให้กับนักเรียนเครื่องเป่า 2) นักเรียนเครื่องเป่าที่มีประสบการณ์จากการฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถจดจำลักษณะของเสียงในแต่ละฮาร์โมนี สีสันของเสียงและอินโทเนชั่นได้ดี 3) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนีนั้นช่วยพัฒนาให้นักเรียนเครื่องเป่ามีความเข้าใจในเรื่องของอินโทเนชั่น สีสันของเสียง ลักษณะของเสียงในแต่ละฮาร์โมนี ทิศทางของแนวทำนองและการตีความบทเพลงได้ดีขึ้น 4) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี มีส่วนช่วยในการทำให้นักเรียนเครื่องเป่าสามารถกำหนดเป้าหมายในการซ้อมได้ชัดเจนมากขึ้น 5) การฝึกซ้อมเครื่องลมโดยฟังฮาร์โมนี ช่วยสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนเครื่องเป่า มีความสนใจในการฝึกซ้อมมากขึ้น | |
dc.format.extent | xi, 189 leaves : ill., music | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2017 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91653 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Harmony Music | |
dc.subject | Music -- Performance | |
dc.subject | Listening | |
dc.subject | Wind instrument music | |
dc.title | A study of the effects of harmony listening on wind instrument students to enhance music performance | |
dc.title.alternative | การศึกษาผลกระทบด้านการฟังฮาร์โมนีสำหรับนักเรียนดนตรีประเภทเครื่องเป่าเพื่อเสริมสร้างคุณภาพทางด้านการแสดงดนตรี | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2561/537/5836001.pdf | |
thesis.degree.department | Mahidol University. College of Music | |
thesis.degree.discipline | Music | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Doctoral Degree | |
thesis.degree.name | Doctor of Philosophy |