Stability of antimalarial activity of artesunate on adhesion properties of plasmodium falciparum-infected erythrocytes
Issued Date
2023
Copyright Date
1996
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 105 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Pathobiology))--Mahidol University, 1996
Suggested Citation
Busaba Pipitaporn Stability of antimalarial activity of artesunate on adhesion properties of plasmodium falciparum-infected erythrocytes. Thesis (Ph.D. (Pathobiology))--Mahidol University, 1996. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/88409
Title
Stability of antimalarial activity of artesunate on adhesion properties of plasmodium falciparum-infected erythrocytes
Alternative Title(s)
การศึกษาความเสถียรของประสิทธิภาพของยาอาร์ทิซูเนทต่อความสามารถในการเกาะของเม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อฟัลซิพารัม
Author(s)
Abstract
In vitro assay was designed to determine stability of antimalarial activity; inhibition of parasite maturation including adherence properties, of artesunate readily dissloved in sodium bicarbonate solution. At 37 degree C, antimalarial activity of artesunate 0.25 µg/ml decreased rapidly showing significant reduction after 2 weeks of storage. Whereas at 10 degree C or -20 degree C, drug could be stored more than 3 weeks or 7 months, respectively with no reduction in antimalarial activity. At lower concentration, 0.01 µg/ml, antimalarial activity of artesunate decreased significantly after being stored for 1 week at 10 degree C or after a few hours at 37 degree C. However, 0.01 µg/ml artesunate stored for 6 months at -20 degree C showed no reduction at all in antimalarial activity. Antimalarial activity can be modulated by parasite density. High number of parasite could decrease the activity of drug. In contrast, uninfected RBC had no or low effect on antimalarial activity of artesunate. Artesunate accumulated in the uninfected red blood cells was unable to inhibit invasion of the merozoites into red blood cells, maturation nor adhesion propeties of the parasite. The effect of stored artesunate on cytoadherence was correlated with the effect on maturation of parasite. In contrast, the stored artesunate which fail to inhibit growth and cytoadherence could inhibit the rosetting of the parasite.
การศึกษาในห้องปฏิบัติการนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเสถียรของยาอาร์ทิซูเนท (artesunate) ซึ่งเป็นยาต้านมาลาเรียในกลุ่มของอาร์ทิมิซินิน (artemisinin) โดยทำการศึกษาผลของยาในการยับยั้ง การเจริญของเชื้อมาลาเรียชนิดฟัลซิพารัม (Plasmodium falciparum) รวมทั้งการยับยั้งคุณสมบัติในการเกาะของ เม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อกับเซลล์ผนังหลอดเลือด (cytoadherence) และการเกาะกับเม็ดเลือดแดงที่ไม่ติดเชื้อ (rosetting) ยาอาร์ทิซูเนทที่ถูกละลายในสารละลายโซเดียม ไบคาร์บอเนทและถูกเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิต่าง ๆ กัน คือ -20, 10, และ 37 องศาเซลเซียสนั้น พบว่ายาที่ความเข้มข้น 0.25 µg/ml สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อและ คุณสมบัติในการเกาะของเชื้อได้ถึง 95-100% หลังจากเก็บ รักษาไว้นาน 7 เดือน และ 3 สัปดาห์ ที่ -20 และ 10 องศาเซลเซียส ตามลำดับ แต่ยาอาร์ทิซูเนทที่ 37 องศาเซลเซียส นั้นมีประสิทธิภาพลดลงอย่างมีนัยสำคัญ หลังจากเก็บไว้นาน ถึง 2 สัปดาห์ ถ้าความเข้มข้นของยาอาร์ทิซูเนทที่ใช้ในการ ทดลองนั้นลดลงเป็น 0.01 µg/ml พบว่าประสิทธิภาพ ของยาจะลดลงอย่างมีนัยสำคัญ หลังจากการเก็บยาไว้ที่ 37 และ 10 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลานาน 4 ชั่วโมง และ 1 สัปดาห์ ตามลำดับ และหากเก็บไว้ที่ -20 องศาเซลเซียส ยานี้ยังคงมีประสิทธิภาพคงเดิม แม้ว่าจะเก็บไว้นานถึง 6 เดือน นอกจากนี้การยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ จะมีความสัมพันธ์กับความสามารถในการเกาะของเชื้อกับเซลล์ ผนังหลอดเลือด และยังพบว่ายาที่ลดประสิทธิภาพในการ ยับยั้งการเจริญของเชื้อ ≤ 25% แล้วนั้น ยังคง สามารถยับยั้งการเกาะกับเม็ดเลือดแดงที่ไม่ติดเชื้อได้ดี ถึง 30-50% การทดลองครั้งนี้ยังพบว่า ปริมาณของเชื้อมีผลต่อ ประสิทธิภาพของยา ในขณะที่มีความเข้มข้นต่ำ หรือ 0.01 µg/ml แต่ปริมาณของเม็ดเลือดแดงปกติไม่มีผล ต่อประสิทธิภาพของยาอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้เมื่อ เม็ดเลือดแดงปกติที่สัมผัสกับยาอาร์ทิซูเนทเป็นเวลานาน ถึงจุดสมดุลย์ และยาส่วนเกินได้ถูกกำจัดออกโดยการล้าง หลาย ๆ ครั้ง เมื่อใช้ในการทดลองพบว่ายาที่สะสมใน เม็ดเลือดแดงเหล่านี้ ไม่สามารถยับยั้งการเข้าสู่เม็ด เลือดแดงของ merozoite การเจริญของเชื้อในเม็ดเลือด แดงนี้ และไม่มีผลต่อความสามารถในการเกาะของเม็ดเลือดแดง ที่ติดเชื้อนี้ กับเซลล์ผนังหลอดเลือดและกับเม็ดเลือด แดงปกติ
การศึกษาในห้องปฏิบัติการนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเสถียรของยาอาร์ทิซูเนท (artesunate) ซึ่งเป็นยาต้านมาลาเรียในกลุ่มของอาร์ทิมิซินิน (artemisinin) โดยทำการศึกษาผลของยาในการยับยั้ง การเจริญของเชื้อมาลาเรียชนิดฟัลซิพารัม (Plasmodium falciparum) รวมทั้งการยับยั้งคุณสมบัติในการเกาะของ เม็ดเลือดแดงที่ติดเชื้อกับเซลล์ผนังหลอดเลือด (cytoadherence) และการเกาะกับเม็ดเลือดแดงที่ไม่ติดเชื้อ (rosetting) ยาอาร์ทิซูเนทที่ถูกละลายในสารละลายโซเดียม ไบคาร์บอเนทและถูกเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิต่าง ๆ กัน คือ -20, 10, และ 37 องศาเซลเซียสนั้น พบว่ายาที่ความเข้มข้น 0.25 µg/ml สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อและ คุณสมบัติในการเกาะของเชื้อได้ถึง 95-100% หลังจากเก็บ รักษาไว้นาน 7 เดือน และ 3 สัปดาห์ ที่ -20 และ 10 องศาเซลเซียส ตามลำดับ แต่ยาอาร์ทิซูเนทที่ 37 องศาเซลเซียส นั้นมีประสิทธิภาพลดลงอย่างมีนัยสำคัญ หลังจากเก็บไว้นาน ถึง 2 สัปดาห์ ถ้าความเข้มข้นของยาอาร์ทิซูเนทที่ใช้ในการ ทดลองนั้นลดลงเป็น 0.01 µg/ml พบว่าประสิทธิภาพ ของยาจะลดลงอย่างมีนัยสำคัญ หลังจากการเก็บยาไว้ที่ 37 และ 10 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลานาน 4 ชั่วโมง และ 1 สัปดาห์ ตามลำดับ และหากเก็บไว้ที่ -20 องศาเซลเซียส ยานี้ยังคงมีประสิทธิภาพคงเดิม แม้ว่าจะเก็บไว้นานถึง 6 เดือน นอกจากนี้การยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ จะมีความสัมพันธ์กับความสามารถในการเกาะของเชื้อกับเซลล์ ผนังหลอดเลือด และยังพบว่ายาที่ลดประสิทธิภาพในการ ยับยั้งการเจริญของเชื้อ ≤ 25% แล้วนั้น ยังคง สามารถยับยั้งการเกาะกับเม็ดเลือดแดงที่ไม่ติดเชื้อได้ดี ถึง 30-50% การทดลองครั้งนี้ยังพบว่า ปริมาณของเชื้อมีผลต่อ ประสิทธิภาพของยา ในขณะที่มีความเข้มข้นต่ำ หรือ 0.01 µg/ml แต่ปริมาณของเม็ดเลือดแดงปกติไม่มีผล ต่อประสิทธิภาพของยาอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้เมื่อ เม็ดเลือดแดงปกติที่สัมผัสกับยาอาร์ทิซูเนทเป็นเวลานาน ถึงจุดสมดุลย์ และยาส่วนเกินได้ถูกกำจัดออกโดยการล้าง หลาย ๆ ครั้ง เมื่อใช้ในการทดลองพบว่ายาที่สะสมใน เม็ดเลือดแดงเหล่านี้ ไม่สามารถยับยั้งการเข้าสู่เม็ด เลือดแดงของ merozoite การเจริญของเชื้อในเม็ดเลือด แดงนี้ และไม่มีผลต่อความสามารถในการเกาะของเม็ดเลือดแดง ที่ติดเชื้อนี้ กับเซลล์ผนังหลอดเลือดและกับเม็ดเลือด แดงปกติ
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
Faculty of Science
Degree Discipline
Pathobiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University