Response to non-nucleoside reverse transcriptase inhibitor (NNRTI)-based antiretroviral regimens in postpartum women who exposed to zidovudine (AZT) and single-dose nevirapine (SD-NVP) or highly active anti-retroviral therapy (HAART) during pregnancy from MTCT-Plus programs, Thailand
Issued Date
2010
Copyright Date
2010
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xi, 78 leaves
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2010
Suggested Citation
Thidarat Jupimai Response to non-nucleoside reverse transcriptase inhibitor (NNRTI)-based antiretroviral regimens in postpartum women who exposed to zidovudine (AZT) and single-dose nevirapine (SD-NVP) or highly active anti-retroviral therapy (HAART) during pregnancy from MTCT-Plus programs, Thailand. Thesis (M.Sc. (Epidemiology))--Mahidol University, 2010. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95505
Title
Response to non-nucleoside reverse transcriptase inhibitor (NNRTI)-based antiretroviral regimens in postpartum women who exposed to zidovudine (AZT) and single-dose nevirapine (SD-NVP) or highly active anti-retroviral therapy (HAART) during pregnancy from MTCT-Plus programs, Thailand
Alternative Title(s)
ผลการรักษาด้วยยาต้านไวรัสสูตรที่ประกอบด้วยนอนนิวคลิโอไซรีเวอร์สทรานสคริปเตสอินฮิบิเตอร์ในหญิงหลังคลอดที่เคยได้รับยาต้านไวรัสซีโดวูดีนร่วมกับเนวิราปีนครั้งเดียวขณะคลอดหรือได้รับยาต้านไวรัสสูตร 3 ตัวขณะตั้งึรรภ์ในโครงการ คืนชีวิตให้พ่อแม่เพื่อลูกน้อยที่ปลอดเอดส์ (MTCT-Plus) ประเทศไทย
Author(s)
Abstract
การศึกษาย้อนหลังในหญิงติดเชื้อเอชใอวีหลังคลอดที่เคยได้ยาต้านไวรัสเพื่อป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกที่ ได้ยาซึโดวูดีน (AZT) ร่วมกับยาเนวิราปีนครั้งเดียว (sdNVP) ขณะคลอดหรือได้ยาต้านไวรัสสูตร 3 ตัวที่มียากลุ่มนอนนิวคลิโอไซรี เวอร์สทรานสคริปเตสอินฮิบิเตอร์ร่วมด้วย (NNRTI-based HAART) ขณะตั้งครรภ์และได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสสูตร NNRTI-based HAART ตามเกณฑ์การรักษาขององค์การอนามัยโลกมานานกว่า12 เดือน เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลในการรักษาด้วยยาต้านไวรัสสูตร NNRTI-based HAART ในหญิงทั้งสองกลุ่ม โดยส่งตรวจตัวอย่างเลือดที่เก็บไว้ ณ เวลา 4-8 สัปดาห์หลังคลอด วันเริ่มยา เดือนที่ 6 และ 12 หลังเริ่มยาต้านไวรัสเพื่อตรวจหาเชื้อไวรัสและตรวจเชื้อดื้อยาในกรณีที่มีไวรัสในเลือด >1,000 copies/mL หญิงหลังคลอด 52 คนเข้าเกณฑ์การศึกษาเคยได้ยา AZT และ sdNVP ขณะคลอด (กลุ่ม sdNVP) 27 คนและได้ยา ต้านไวรัสสูตร NNRTI-based HAART ขณะตั้งครรภ์ (กลุ่ม HAART) 25 คน ค่าเฉลี่ย CD4 วันเริ่มยา (IQR) เป็น 181 (148-209) และ 185 (146-215) cells/mm3 ในกลุ่ม sdNVP และกลุ่ม HAART ตามลำดับ กลุ่ม HAART เริ่มยาต้านไวรัสหลังคลอดเร็วกว่ากลุ่ม sdNVP อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าเฉลี่ยระยะเวลาหลังคลอดถึงวันเริ่มยาต้านไวรัส (IQR) เป็น 14(9-20) และ 31(24-41) เดือน ตามลำดับ (p<0.0001) กลุ่ม sdNVP ทุกคนและกลุ่ม HAART 21 คน (84%) มีปริมาณเชื้อไวรัสในเลือด <50 copies/mL ที่เดือน 12 หลังเริ่มยาต้านไวรัส 3 คนในกลุ่ม HAART พบการรักษาล้มเหลวและพบการกลายพันธุ์ของยีนที่สัมพันธ์กับการดื้อต่อยากลุ่ม NNRTI อย่างน้อย 3 ตำแหน่งดังนี้ M184V, K103N, T69N, Y181I, T215Y, K65R, Y115F, Y181C, และ G190A ทั้ง 3 คนไม่พบการกลายพันธุ์ของ ยีนที่ 4-8 สัปดาห์หลังคลอด และวันเริ่มยาต้านไวรัส การรักษาด้วยยาต้านไวรัสสูตร NNRTI-based HAART ในหญิงหลังคลอดทั้งที่เคยได้ยา AZT และ sdNVP ขณะคลอด หรือเคยได้ยาต้านสูตร NNRTI-based HAART ขณะตั้งครรภ์ ณ เวลา 12 เดือนมีประสิทธิผลดี พบการกลายพันธุ์ของยีนที่สัมพันธ์กับการดื้อต่อยากลุ่ม NNRTI หลังคลอดในกลุ่มที่ได้ sdNVP ขณะคลอดในขณะที่ตรวจไม่พบในกลุ่มที่ได้ยาต้านไวรัสสูตร NNRTI-based HAART ขณะตั้งครรภ์ด้วยวิธี standard genotypic resistance assay การตรวจเชื้อดื้อยาด้วยวิธี Ultrasensitive assays ก่อนเริ่มยาต้านไวรัสในหญิงหลังคลอดที่เคยได้ยาเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแม่สู่ลูกจะช่วยให้สามารถตรวจพบการกลายพันธุ์ของยีนตำแหน่งที่สัมพันธ์กับการดื้อยาได้มากขึ้น
Description
Epidemiology (Mahidol University 2010)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Degree Discipline
Epidemiology
Degree Grantor(s)
Mahidol University