แนวทางการพัฒนาผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลย่านดินแดง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Issued Date
2560
Copyright Date
2560
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
[ก]-ฌ, 157 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560
Suggested Citation
สุปานทิพย์ ดำด้วงโรม แนวทางการพัฒนาผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลย่านดินแดง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92680
Title
แนวทางการพัฒนาผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลย่านดินแดง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Alternative Title(s)
Community development method by using Paolo Freire dialogue, a case study : Yandindang municipal sub-district, Prasaeng district, Surat Thani province
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
งานวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาชุมชนผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลย่านดินแดง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนาของชุมชน และเพื่อหาแนวทางการพัฒนาชุมชนไปสู่สังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยใช้แนวคิดและกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ และใช้รูปแบบการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวทางการวิจัยแนวมานุษยวิทยาวัฒนธรรม เป็นเครื่องมือในการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนเทศบาลตำบลย่านดินแดง มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านการพัฒนา 6 ด้าน คือ ด้านสาธารณูปโภค ด้านเศรษฐกิจ ด้านการปกครอง ด้านการศึกษา ด้านความสัมพันธ์ของคนในชุมชน และด้านวัฒนธรรม มีแนวทางการพัฒนาชุมชน ผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ 5 ด้าน คือ การพัฒนาด้านจิตใจคน การพัฒนาด้านการศึกษา การพัฒนาด้านกีฬา การพัฒนาด้านการปกครอง และการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ผลการวิจัยสามารถที่จะตอบวัตถุประสงค์ทั้ง 2 ข้อได้สมบูรณ์ และสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีที่ได้ศึกษามา
The research Community development method by using Paulo Freire Dialogue A case study: Yandindang Municipal Sub-District, Prasang District, Surat thani Province has two objectives: 1) to study factors for community development, and 2) to find the directions of community development to co-exist happily by Paulo Freire dialogue. A qualitative research approach was employed as main methodology. The result of this research showed that there were six factors: 1) public utilities, 2) economics, 3) governance, 4) education, 5) the relationship of people in the community, and 6) culture. And there were five directions of development by Paulo Freire dialogue: 1) mental development, 2) educational development, 3) sports development, 4) government development, and 5) economic development. Result of this research suggested factors affecting community development.
The research Community development method by using Paulo Freire Dialogue A case study: Yandindang Municipal Sub-District, Prasang District, Surat thani Province has two objectives: 1) to study factors for community development, and 2) to find the directions of community development to co-exist happily by Paulo Freire dialogue. A qualitative research approach was employed as main methodology. The result of this research showed that there were six factors: 1) public utilities, 2) economics, 3) governance, 4) education, 5) the relationship of people in the community, and 6) culture. And there were five directions of development by Paulo Freire dialogue: 1) mental development, 2) educational development, 3) sports development, 4) government development, and 5) economic development. Result of this research suggested factors affecting community development.
Description
วัฒนธรรมศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2560)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
วัฒนธรรมศึกษา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล