แนวทางการพัฒนาผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลย่านดินแดง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
dc.contributor.advisor | เรณู เหมือนจันทร์เชย | |
dc.contributor.advisor | ขนบพร วงศ์กาฬสินธุ์ | |
dc.contributor.author | สุปานทิพย์ ดำด้วงโรม | |
dc.date.accessioned | 2024-01-15T01:45:31Z | |
dc.date.available | 2024-01-15T01:45:31Z | |
dc.date.copyright | 2560 | |
dc.date.created | 2567 | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.description | วัฒนธรรมศึกษา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2560) | |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาชุมชนผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลย่านดินแดง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนาของชุมชน และเพื่อหาแนวทางการพัฒนาชุมชนไปสู่สังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยใช้แนวคิดและกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ และใช้รูปแบบการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวทางการวิจัยแนวมานุษยวิทยาวัฒนธรรม เป็นเครื่องมือในการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ชุมชนเทศบาลตำบลย่านดินแดง มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านการพัฒนา 6 ด้าน คือ ด้านสาธารณูปโภค ด้านเศรษฐกิจ ด้านการปกครอง ด้านการศึกษา ด้านความสัมพันธ์ของคนในชุมชน และด้านวัฒนธรรม มีแนวทางการพัฒนาชุมชน ผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ 5 ด้าน คือ การพัฒนาด้านจิตใจคน การพัฒนาด้านการศึกษา การพัฒนาด้านกีฬา การพัฒนาด้านการปกครอง และการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ผลการวิจัยสามารถที่จะตอบวัตถุประสงค์ทั้ง 2 ข้อได้สมบูรณ์ และสอดคล้องกับแนวคิดและทฤษฎีที่ได้ศึกษามา | |
dc.description.abstract | The research Community development method by using Paulo Freire Dialogue A case study: Yandindang Municipal Sub-District, Prasang District, Surat thani Province has two objectives: 1) to study factors for community development, and 2) to find the directions of community development to co-exist happily by Paulo Freire dialogue. A qualitative research approach was employed as main methodology. The result of this research showed that there were six factors: 1) public utilities, 2) economics, 3) governance, 4) education, 5) the relationship of people in the community, and 6) culture. And there were five directions of development by Paulo Freire dialogue: 1) mental development, 2) educational development, 3) sports development, 4) government development, and 5) economic development. Result of this research suggested factors affecting community development. | |
dc.format.extent | [ก]-ฌ, 157 แผ่น : ภาพประกอบ | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมศึกษา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92680 | |
dc.language.iso | tha | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี | |
dc.subject | การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี -- การมีส่วนร่วมของประชาชน | |
dc.title | แนวทางการพัฒนาผ่านกระบวนการเสวนาของเปาโล แฟร์ : กรณีศึกษาเทศบาลตำบลย่านดินแดง อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี | |
dc.title.alternative | Community development method by using Paolo Freire dialogue, a case study : Yandindang municipal sub-district, Prasaeng district, Surat Thani province | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2560/cd524/5537173.pdf | |
thesis.degree.department | สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย | |
thesis.degree.discipline | วัฒนธรรมศึกษา | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |