ซายวายในสังคมวัฒนธรรมบ้านแม่ตาว

dc.contributor.advisorขนบพร วงศ์กาฬสินธุ์
dc.contributor.advisorพชร สุวรรณภาชน์
dc.contributor.advisorชิตชยางค์ ยมาภัย
dc.contributor.authorมงคล รอพันธ์
dc.date.accessioned2024-01-22T08:53:35Z
dc.date.available2024-01-22T08:53:35Z
dc.date.copyright2557
dc.date.created2567
dc.date.issued2557
dc.descriptionวัฒนธรรมและการพัฒนา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2557)
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมของบ้านแม่ตาวผ่าน ประวัติศาสตร์ดนตรี การใช้และหน้าที่ของ "วงซายวาย" โดยประยุกต์ใช้แนวคิด ทฤษฎีทาง ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและมานุษยวิทยาการดนตรี วิจัยในพื้นที่บ้านแม่ตาว ตา บลท่าสายลวด จังหวัด ตาก ผลการศึกษาพบว่า ซายวายบ้านแม่ตาวก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2497 โดยพระอูเซียตงเอ่ง และครูเปโจ เมเป ครูใหญ่ซายวายประจาหมู่บ้านแม่ตาว ถวายเครื่องดนตรีวงซายวายให้กับพระ อธิการบัณฑิตโตเจ้าอาวาสวัดไทยวัฒนารามขณะนั้น เอกลักษณ์ของวงซายวายบ้านแม่ตาว พบว่า ลักษณะเฉพาะทางดนตรีมีการจัดวง 2 ลักษณะ คือ ซายวายแล และซายวายจี ระบบเสียงของเครื่อง ดนตรีและบทเพลงที่เป็นของท้องถิ่น นอกจากนี้ยังมีการจัดวงดนตรีใช้สาหรับแห่อีก 3 ลักษณะ เรียกว่า วงเปียว วงโดบะ และวงโอซี จากคาบอกเล่าของชาวบ้านแสดงให้เห็นว่า ซายวายเป็นวง ดนตรีที่มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของชาวบ้านแม่ตาวอย่างแนบแน่น ปรากฏการใช้และหน้าที่ของ ดนตรีที่เด่นชัดได้แก่ 1) การบรรเลงซายวายในงานประโคม 2) การบรรเลงซายวายประกอบการ แสดง และ 3) การบรรเลงซายวายประกอบการบูชา วงซายวายมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตผู้คน สะท้อนความเป็นสังคมวัฒนธรรมวิถีพุทธ สะท้อนการรวมกลุ่มทางชาติพันธุ์ มีวัฒนธรรมร่วมที่ แสดงออกในการประกอบประเพณี พิธีกรรม
dc.description.abstractThis research aims to describe the social culture of Mae Tao village through musical history, the use and function of "Saiwai" the local musical band through the concepts of local history and ethnomusicology. The study area is Mae Tao village, Tambon Ta Sai Luad in Tak province. The researcher found that the band Saiwai at Mae Tao village was originally conceived by Pra U-Sia-Tong-Eng in 1954. Pejo Mejo, who is the leader of Saiwai, offered musical instruments to Pra Atikanbunditto, the abbot of Wat Thaiwattanaram for setting up the musical band. The music played by Saiwai consists of two forms: Saiwai-lae and Saiwai-gee. The musical scale and lyrics are local. In addition, there are three styles used for parades. They consist of Wong Piew, Wond Dobah, and Wong O-see. The uses of Saiwai are 1) playing preludes for religious ceremonies, 2) public performances, and 3) playing for worship. Saiwai is closely related to Mae Tao villager culture. This indicates the Buddhist culture and the close association of the ethnic groups in Mae Tao Village and shows that they share culture by performing music together.
dc.format.extentก-ฎ, 229 แผ่น : ภาพประกอบ
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.identifier.citationวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2557
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93444
dc.language.isotha
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล. หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.rightsผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectซายวาย -- วงดนตรี
dc.subjectวงดนตรีซายวาย
dc.subjectดนตรีพื้นบ้าน -- ไทย -- ตาก
dc.titleซายวายในสังคมวัฒนธรรมบ้านแม่ตาว
dc.title.alternativeSaiwai in socio-cultural contexts of Mae Tao village
dc.typeMaster Thesis
dcterms.accessRightsopen access
mods.location.urlhttp://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2557/cd486/5236083.pdf
thesis.degree.departmentสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
thesis.degree.disciplineวัฒนธรรมและการพัฒนา
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Files