การศึกษาเชิงชาติพันธุ์ดนตรีวิทยาพิธีบูชาอารตี
Issued Date
2556
Copyright Date
2556
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
[ก]-ฐ, 195 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556
Suggested Citation
นาตยา ชุ่มเย็น การศึกษาเชิงชาติพันธุ์ดนตรีวิทยาพิธีบูชาอารตี. วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (วัฒนธรรมและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93519
Title
การศึกษาเชิงชาติพันธุ์ดนตรีวิทยาพิธีบูชาอารตี
Alternative Title(s)
An ethnomusicological study of the Aarti worship
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาความเชื่อเรื่องเทพเจ้าของชาวอินเดียฮินดูที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ผ่านการใช้และหน้าที่ของดนตรีในพิธีอารตี กรณีศึกษาวัดเทพมณเฑียร ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยาการดนตรีที่เน้นข้อมูลสนามและการอธิบายเชิงวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า ชาวอินเดียฮินดูที่มาปฏิบัติพิธีบูชาอารตีที่วัดเทพมณเฑียร มีคติความเชื่อในการบูชาเทพเจ้าหลายองค์ตามหลักศาสนาฮินดู นิกายไวษณพ วัดเทพมณเฑียร เป็นเทวสถานที่ถูกสร้างขึ้นโดยสมาคมฮินดูสมาช ซึ่งเป็นกลุ่มชาวอินเดียฮินดูที่ย้ายถิ่นฐานมาจากแคว้นปัญจาบ (Punjab) และแคว้นสินธุ์ (Sind) เพื่อใช้เป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจทั้งที่ปฏิบัติเป็นประจำทุกวันและพิธีกรรมสำคัญทางศาสนาในรอบปี สำหรับการปฏิบัติพิธีบูชาอารตีเป็นศาสนกิจที่ปฏิบัติเป็นประจำทุกวัน โดยดนตรีมีหน้าที่สำคัญในการปฏิบัติพิธีบูชา เพราะเชื่อว่าเทพเจ้าทรงโปรดปรานในเสียงดนตรี การปฏิบัติบูชาที่ทำให้เทพเจ้าเกิดความพึงพอใจก็จะได้รับการประทานพร การแสดงความเคารพ ความศรัทธา ดนตรีจึงมีบทบาทในการแสดงความปรารถนาผ่านการบรรเลงและการขับร้องประกอบทั้งก่อนและระหว่างการปฏิบัติบูชาในทุกครั้ง รูปแบบของวงดนตรี ประกอบไปด้วย (1) นักร้อง (2) ตับบล้า (3) โดลัค (4) ฮาร์โมเนียม (5) แทมโบริน (6) ขาลตาล (7) มานจิร่า โดยยังคงรูปแบบวงดนตรีและการบรรเลงของชาวอินเดียฮินดูในประเทศ
This research studied the belief in Hindu deities of Indians who live in Bangkok Metropolitan, through the usage and functions of the music in the Aarti worship as a case study at Dev Mandir Temple. The researcher collected the data by using the ethnomusicology which focused on field data and analytical explanation. The study found that Hindu Indians who attend the Aarti worship at Dev Mandir Temple believe in polytheism under the principle of Vaishnav Hinduism. Dev Mandir Temple was built by the Hindu Samaj Association, which is a group of Hindu Indians who had migrated from Punjab and Sind. This temple has been a place for conducting everyday religious affairs. Music has played an important role in the worship ceremony because it is believed that the deities are fond of the sound of music. Conducting the worship can satisfy the deities, and then the deities will grant wishes to those praying. To express respectfulness and faithfulness, the music has a role of expressing the desire every time, through playing and singing both before and during the worship ceremony. The format of the musical band consists of (1) singer, (2) Tabla, (3) Dholak, (4) Harmonium, (5) Tambourine, (6) Khartal, and (7) Manjira.
This research studied the belief in Hindu deities of Indians who live in Bangkok Metropolitan, through the usage and functions of the music in the Aarti worship as a case study at Dev Mandir Temple. The researcher collected the data by using the ethnomusicology which focused on field data and analytical explanation. The study found that Hindu Indians who attend the Aarti worship at Dev Mandir Temple believe in polytheism under the principle of Vaishnav Hinduism. Dev Mandir Temple was built by the Hindu Samaj Association, which is a group of Hindu Indians who had migrated from Punjab and Sind. This temple has been a place for conducting everyday religious affairs. Music has played an important role in the worship ceremony because it is believed that the deities are fond of the sound of music. Conducting the worship can satisfy the deities, and then the deities will grant wishes to those praying. To express respectfulness and faithfulness, the music has a role of expressing the desire every time, through playing and singing both before and during the worship ceremony. The format of the musical band consists of (1) singer, (2) Tabla, (3) Dholak, (4) Harmonium, (5) Tambourine, (6) Khartal, and (7) Manjira.
Description
วัฒนธรรมและการพัฒนา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2556)
Degree Name
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย
Degree Discipline
วัฒนธรรมและการพัฒนา
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล