The process of resilience promotion in school children in an urban slum area
dc.contributor.advisor | Supavan Phlainoi | |
dc.contributor.advisor | Nawarat Phlainoi | |
dc.contributor.advisor | Suriyadeo Tripathi | |
dc.contributor.author | Sompoch Ratioran | |
dc.date.accessioned | 2023-09-07T02:10:53Z | |
dc.date.available | 2023-09-07T02:10:53Z | |
dc.date.copyright | 2012 | |
dc.date.created | 2012 | |
dc.date.issued | 2023 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนส่งเสริมความยืดหยุ่นทนทานของเด็กนักเรียนในชุมชนแออัดในเขตเมือง โดยศึกษา 1) คุณลักษณะความยืดหยุ่นทนทาน 2) ปัจจัยปกป้องด้านครอบครัวโรงเรียน เพื่อนและด้านชุมชน 3) ผลลัพธ์การปรับตัว 4) ปัจจัยทำนายความยืดหยุ่นทนทานและผลลัพธ์การปรับตัว และ 5) กระบวนการส่งเสริมความยืดหยุ่นทนทาน ใช้วิธีการศึกษาแบบผสมผสาน การศึกษาเชิงปริมาณสุ่มตัวอย่างจาก นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่อาศัยในชุมชนแออัดในเขตกรุงเทพมหานคร จานวน 306 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน การศึกษาเชิงคุณภาพเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจากกลุ่มศึกษาเชิงปริมาณ สัมภาษณ์เชิงลึกและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่าคุณลักษณะความยืดหยุ่นทนทานเฉลี่ยด้านการมีเป้าหมายชีวิต และการมีศีลธรรม จริยธรรมอยู่ในระดับสูง ส่วนด้านการรู้สึกดีต่อตนเองและความสามารถในการเผชิญปัญหาอยู่ในระดับต่ำ ปัจจัยปกป้องเฉลี่ยด้านครอบครัวและโรงเรียนอยู่ในระดับสูง ส่วนปัจจัยปกป้องด้านเพื่อนและชุมชนอยู่ในระดับต่ำ สาหรับผลลัพธ์การปรับตัวเฉลี่ย พบว่า ด้านสัมฤทธิผลทางการเรียนอยู่ในระดับสูง ส่วนพฤติกรรมทางสังคมอยู่ในระดับต่ำ ปัจจัยปกป้องสามารถร่วมกันทำนายความยืดหยุ่นทนทานได้ร้อยละ 37.2 ส่วนคุณลักษณะความยืดหยุ่นทนทานพบบางคุณลักษณะสามารถทำนายผลลัพธ์การปรับตัวของนักเรียน กระบวนการส่งเสริมความยืดหยุ่นทนทานพบ 3 กระบวนการที่สำคัญ คือ 1) กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ เป็นการเสริมสร้าง สนับสนุนให้เด็กเห็นคุณค่าในตน สมรรถนะแห่งตนและส่งเสริมให้เด็กมีความสามารถเชิงบวก 2) กระบวนการป้องกันปัจจัยเสี่ยง คือ การป้องกันไม่ให้เด็กเข้าไปเผชิญกับปัญหา 3) กระบวนการแก้ปัญหาและเยียวยา เป็นกระบวนการที่พบในเด็กกลุ่มที่สัมผัสกับปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ กระบวนการจัดการกับปัญหา และกระบวนการลดผลกระทบจากการสัมผัสปัจจัยเสี่ยง ข้อเสนอแนะ การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ การป้องกันปัจจัยเสี่ยง และการแก้ปัญหาและเยียวยา เป็นกระบวนการที่ควรสนับสนุนโดยครอบครัว โรงเรียน เพื่อนและชุมชน เพื่อให้เด็กเกิดความยืดหยุ่นทนทาน | |
dc.format.extent | xiii, 183 leaves | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (Ph.D. (Population Education))--Mahidol University, 2012 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89487 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Child welfare | |
dc.subject | Family social work | |
dc.subject | Resilience (Personality trait) in children | |
dc.title | The process of resilience promotion in school children in an urban slum area | |
dc.title.alternative | กระบวนการส่งเสริมความยืดหยุ่นทนทานของเด็กนักเรียนในชุมชนแออัดในเขตเมือง | |
dcterms.accessRights | restricted access | |
mu.link.internalLink | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2555/cd468/4937749.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Social Sciences and Humanities | |
thesis.degree.discipline | Population Education | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Doctoral Degree | |
thesis.degree.name | Doctor of Philosophy |