The relationship between psychological capital and public-mindedness in secondary school students, Hatyaiwittayalai School
dc.contributor.advisor | Sucheera Phattharayuttawat | |
dc.contributor.advisor | Woraphat Ratta-apha | |
dc.contributor.author | Teeraphan Chalermrungroj | |
dc.date.accessioned | 2024-01-19T05:41:24Z | |
dc.date.available | 2024-01-19T05:41:24Z | |
dc.date.copyright | 2016 | |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 2016 | |
dc.description | Clinical Psychology (Mahidol University 2016) | |
dc.description.abstract | The objective of this survey research was to study the relationship between Psychological Capital and Public-mindedness in secondary school students at the Hatyaiwittayalai School in the 2015 academic year. The sample group was 412 students. The data collection instruments were a Student's general questionnaire and the Thai Psychological Capital Inventory and the Public-mindedness Questionnaire. The study found the level of Psychological Capital, Psychological Capital components, such as Hope, Self-efficacy, Resilience and Optimism, and Public-mindedness in the sample group were moderately high. The results of the comparison of Public-mindedness based on gender found female students have higher Public-mindedness than male students with a statistical significance at the 0.01 level. The results of the comparison of Public-mindedness based on class level found students who studied at different class levels have different Public-mindedness with a statistical significance at the 0.001 level. Seventh grade students have higher Public-mindedness than higher class level students with a statistical significance. In addition, Psychological Capital and Psychological Capital components were positively related to Public-mindedness with a statistical significance at the 0.001 level, and Psychological Capital components, such as Self-efficacy, Hope and Resilience can predict Public-mindedness in the sample group at 26.1%. The correlation coefficient is 0.5111, and the standard error of estimate is ± 15.88047. The recommendations for further study should use other samples by expanding the sample groups, and also study other psychosocial factors that can help explain Public-mindedness in students. The research results suggest that supporting Self-efficacy, Hope and Resilience could be one of methods to promote and develop Public-mindedness, which is a socially desirable characteristic in students. | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยากับจิต สาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 412 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับนักเรียน แบบประเมินต้นทุนทางจิตวิทยาสำหรับคนไทย และแบบสอบถามจิตสาธารณะ ผลการวิจัยพบว่า ทุนทางจิตวิทยา องค์ประกอบของทุนทางจิตวิทยาได้แก่ ความหวัง, การรับรู้ความสามารถของตนเอง, ความหยุ่นตัว และการมองโลกในแง่ดีและจิตสาธารณะของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับค่อนข้างสูง ผลการเปรียบเทียบจิตสาธารณะของกลุ่มตัวอย่างเมื่อจำแนกตามเพศ พบว่า นักเรียนเพศหญิงมีจิตสาธารณะสูงกว่านักเรียนเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสสถิติที่ระดับ 0.01 เมื่อจำแนกตามระดับชั้นปี พบว่า นักเรียนระดับชั้นปีต่างกันมีจิตสาธารณะแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มี จิตสาธารณะสูงกว่านักเรียนระดับชั้นปีสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่า ทุนทางจิตวิทยา และองค์ประกอบของทุนทางจิตยวิทยาทั้ง 4 องค์ประกอบ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับจิตสาธารณะ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.001 และองค์ประกอบของทุนทางจิตวิทยา ได้แก่ การรับรู้ความสามารถของตน, ความหวัง และความหยุ่นตัว สามารถทำนายจิตสาธารณะของกลุ่มตัวอย่างได้ร้อยละ 26.1 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.511 และมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการทำนายเท่ากับ ±15.88047 ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควรขยายการศึกษาไปยังกลุ่มตัวอย่างอื่นๆ รวมไปถึงศึกษาปัจจัยทางสังคมด้านอื่นๆ ร่วมด้วย เพื่อหาปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตสาธารณะของนักเรียน และจากการวิจัยในครั้งนี้ทำให้ทราบว่าการสนับสนุนปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถของตน ความหวัง และการมองโลกในแง่ดี เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการพัฒนาและส่งเริมให้นักเรียนมีจิตสาธราณะอันเป็นคุณลักณะที่พึงประสงค์ได้ | |
dc.format.extent | viii, 92 leaves | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2016 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93261 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Human capital -- Psychological aspects | |
dc.subject | High school students -- Mental health | |
dc.title | The relationship between psychological capital and public-mindedness in secondary school students, Hatyaiwittayalai School | |
dc.title.alternative | ความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางจิตวิทยากับจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2558/508/5636826.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Medicine Siriraj Hospital | |
thesis.degree.discipline | Clinical Psychology | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |