Palm heat reduction using rapid thermal exchange unit during simulated taekwondo competition
Issued Date
2011
Copyright Date
2011
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 118 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2011
Suggested Citation
Suchada Saovieng Palm heat reduction using rapid thermal exchange unit during simulated taekwondo competition. Thesis (M.Sc. (Sports Science))--Mahidol University, 2011. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/94997
Title
Palm heat reduction using rapid thermal exchange unit during simulated taekwondo competition
Alternative Title(s)
การลดความร้อนที่ฝ่ามือด้วยเครื่องลดอุณหภูมิชนิดเร็วในระหว่างภาวะเลียนแบบการแข่งขันกีฬาเทควันโด
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการลดความร้อนที่ฝ่ามือด้วยเครื่องลดอุณหภูมิชนิด เร็วในช่วงพัก 1 นาทีระหว่างภาวะเลียนแบบการแข่งขันเทควันโด โดยศึกษาผลการตอบสนองด้านสรีรวิทยา และสมรรถภาพการทำงานแบบแอนแอโรบิก กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาเทควันโด 10 คน เข้าร่วมการทดลอง 3 ครั้ง แยกห่างกัน 1 สัปดาห์ โดยใช้โปรแกรม Modified Wingate Anaerobic Test ที่ความหนัก 0.06/5 xน้ำหนัก ตัว (กิโลกรัม) เพื่อเลียนแบบการชกรวม 3 ยกๆละ 2 นาที พัก 1 นาที ผู้เข้าร่วมวิจัยซึ่งไม่ได้รับการทดสอบด้วย เครื่องมือใดๆจะนั่งพักนิ่งๆ (กลุ่ม 1, กลุ่มควบคุม), การให้ความเย็นที่ฝ่ามือแบบไม่มีสุญญากาศ (กลุ่ม 2) หรือ แบบมีสุญญากาศ (กลุ่ม 3) ทำการเก็บข้อมูลของระบบหัวใจไหลเวียนเลือด ระบบควบคุมอุณหภูมิกายระหว่าง การออกกำลัง, ช่วงพัก 1 นาทีระหว่างยก, 5 และ 30 นาทีภายหลังการออกกำลังกาย ผลการศึกษาพบว่าทั้งสาม กลุ่ม สมรรถภาพการทำงานแบบแอนแอโรบิกลดลงในยกที่ 2 ในขณะที่กลุ่มที่ได้รับการทดลองด้วยเครื่องลด อุณหภูมิชนิดเร็วแบบมีสุญญากาศพบว่ามีการเพิ่มขึ้นของสมรรถภาพการทำงานแบบแอนแอโรบิกในยกที่ 3 กลุ่มควบคุมมีอุณหภูมิในช่องหู, การรับรู้ความร้อน เพิ่มขึ้นภายหลังการออกกำลังกายในนาทีที่ 5 แต่ในนาทีที่ 30 กลุ่มควบคุมมีอุณหภูมิในช่องหูลดลงต่ำกว่ากลุ่มที่ 3 ในกลุ่มที่ใช้เครื่องลดอุณหภูมิชนิดเร็วแบบมี สุญญากาศ มีการลดลงอย่างมีนัยสำคัญของอุณหภูมิที่ท่อนแขนด้านล่าง, มือ และค่าเฉลี่ยอุณหภูมิผิวหนัง มากกว่ากลุ่มควบคุมในช่วงพักนาทีที่ 30 นอกจากนี้ ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของอัตราการไหลเวียนเลือด, อัตราการเต้นของชีพจร และค่าเฉลี่ยอุณหภูมิกายทั้ง 3 กลุ่ม จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการลดความร้อนที่ ฝ่ามือด้วยเครื่องลดอุณหภูมิชนิดเร็วช่วยฟื้นสมรรถภาพการทำงานแบบแอนแอโรบิกในนักกีฬาเทควันโด โดยเฉพาะในยกที่ 3 อีกทั้งยังแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบควบคุมอุณหภูมิกาย ในระหว่างการ ออกกำลังกายซ้ำหลาย ๆ ยก
Description
Sports Science (Mahidol University 2011)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
College of Sports Science and Technology
Degree Discipline
Sports Science
Degree Grantor(s)
Mahidol University