Workstation design for nail salon
Issued Date
2010
Copyright Date
2010
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xii, 107 leaves : col. ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Industrial Hygiene and Safety))--Mahidol University, 2010
Suggested Citation
Supattra La-ongnuan Workstation design for nail salon. Thesis (M.Sc. (Industrial Hygiene and Safety))--Mahidol University, 2010. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95489
Title
Workstation design for nail salon
Alternative Title(s)
การออกแบบสถานีงานสำหรับช่างทำเล็บ
Author(s)
Abstract
การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งการทดลองโดยการใช้แบบสอบถามและการออกแบบสถานีงานเพื่อ ลดความเมื่อยล้าร่างกายของช่างทำเล็บ โดยเปรียบเทียบระหว่างก่อน, หลังจากทำงานกับสถานีงานแบบเดิมและ หลังจากทำงานกับสถานีงานแบบใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นช่างทำเล็บที่อยู่ในอำเภอโพธิ์ธาราม จังหวัดราชบุรี โดยเป็นการเปรียบเทียบความเข้มข้นของสารเคมีในร้านทำเล็บเปรียบเทียบระหว่างมีชุดทำเล็บและไม่มีชุดทำเล็บ และความรู้สึกเมื่อยล้าก่อนทำงาน และหลังทำงานกับสถานีงานแบบเดิมและแบบใหม่ รวมถึงความพึงพอใจต่อ สถานีงานที่ออกแบบใหม่ โดยสถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ Pair t test เพื่อหาความแตกต่างของความรู้สึกเมื่อยล้า ระหว่างสถานีงานแบบเดิมและสถานีงานแบบใหม่ทั้งนี้ที่ความเชื่อมั่น 95% วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อออกแบบสถานีงานตามหลักการยศาสตร์ โดยในที่นี้สถานีงาน หมายถึงโต๊ะและเก้าอี้ของช่างทำเล็บ เพื่อลดความรู้สึกเมื่อยล้า ผลการศึกษาพบว่าความเข้มข้นของสารเคมีได้แก่ ทูโลอีนและบิวทิล อะซิเตท ในร้านทำเล็บ ลดลง 80% ทั้งนี้ที่ความเชื่อมั่น 95% ส่วนความรู้สึกเมื่อยล้าเปรียบเทียบระหว่างสถานีงานแบบเดิมและสถานีงานแบบ ใหม่พบว่า สถานีงานแบบใหม่สามารถลดความเมื่อยล้าลงได้เกือบทุกส่วนของร่างกาย ยกเว้นก้นกบและเท้า ผลการศึกษาความพึงพอใจของช่างทำเล็บเกี่ยวกับสถานีงานและชุดทำเล็บที่สร้างขึ้นใหม่ พบว่า ช่างทำเล็บมีความพอใจสถานีงานแบบใหม่ เช่น พื้นที่, ความสูงและแสงสว่าง เป็นต้น มากกว่าสถานีงานแบบเดิม (P-value < 0.05) โดยการจากสอบถามพบว่า ผลการประเมินส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์พึงพอใจ ยกเว้นเรื่องของราคา ของชุดทำเล็บที่พบว่าช่างทำเล็บส่วนใหญ่ยังไม่พึงพอใจ
Description
Industrial Hygiene and Safety (Mahidol university 2010)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Public Health
Degree Discipline
Industrial Hygiene and Safety
Degree Grantor(s)
Mahidol University