Workstation design for nail salon
dc.contributor.advisor | Vichai Pruktharathikul | |
dc.contributor.advisor | Chalermchai Chaikittiporn | |
dc.contributor.advisor | Vajira Singhakajen | |
dc.contributor.author | Supattra La-ongnuan | |
dc.date.accessioned | 2024-02-08T02:09:52Z | |
dc.date.available | 2024-02-08T02:09:52Z | |
dc.date.copyright | 2010 | |
dc.date.created | 2010 | |
dc.date.issued | 2010 | |
dc.description | Industrial Hygiene and Safety (Mahidol university 2010) | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งการทดลองโดยการใช้แบบสอบถามและการออกแบบสถานีงานเพื่อ ลดความเมื่อยล้าร่างกายของช่างทำเล็บ โดยเปรียบเทียบระหว่างก่อน, หลังจากทำงานกับสถานีงานแบบเดิมและ หลังจากทำงานกับสถานีงานแบบใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นช่างทำเล็บที่อยู่ในอำเภอโพธิ์ธาราม จังหวัดราชบุรี โดยเป็นการเปรียบเทียบความเข้มข้นของสารเคมีในร้านทำเล็บเปรียบเทียบระหว่างมีชุดทำเล็บและไม่มีชุดทำเล็บ และความรู้สึกเมื่อยล้าก่อนทำงาน และหลังทำงานกับสถานีงานแบบเดิมและแบบใหม่ รวมถึงความพึงพอใจต่อ สถานีงานที่ออกแบบใหม่ โดยสถิติที่ใช้ในการทดสอบคือ Pair t test เพื่อหาความแตกต่างของความรู้สึกเมื่อยล้า ระหว่างสถานีงานแบบเดิมและสถานีงานแบบใหม่ทั้งนี้ที่ความเชื่อมั่น 95% วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อออกแบบสถานีงานตามหลักการยศาสตร์ โดยในที่นี้สถานีงาน หมายถึงโต๊ะและเก้าอี้ของช่างทำเล็บ เพื่อลดความรู้สึกเมื่อยล้า ผลการศึกษาพบว่าความเข้มข้นของสารเคมีได้แก่ ทูโลอีนและบิวทิล อะซิเตท ในร้านทำเล็บ ลดลง 80% ทั้งนี้ที่ความเชื่อมั่น 95% ส่วนความรู้สึกเมื่อยล้าเปรียบเทียบระหว่างสถานีงานแบบเดิมและสถานีงานแบบ ใหม่พบว่า สถานีงานแบบใหม่สามารถลดความเมื่อยล้าลงได้เกือบทุกส่วนของร่างกาย ยกเว้นก้นกบและเท้า ผลการศึกษาความพึงพอใจของช่างทำเล็บเกี่ยวกับสถานีงานและชุดทำเล็บที่สร้างขึ้นใหม่ พบว่า ช่างทำเล็บมีความพอใจสถานีงานแบบใหม่ เช่น พื้นที่, ความสูงและแสงสว่าง เป็นต้น มากกว่าสถานีงานแบบเดิม (P-value < 0.05) โดยการจากสอบถามพบว่า ผลการประเมินส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์พึงพอใจ ยกเว้นเรื่องของราคา ของชุดทำเล็บที่พบว่าช่างทำเล็บส่วนใหญ่ยังไม่พึงพอใจ | |
dc.format.extent | xii, 107 leaves : col. ill. | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.identifier.citation | Thesis (M.Sc. (Industrial Hygiene and Safety))--Mahidol University, 2010 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95489 | |
dc.language.iso | eng | |
dc.publisher | Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center | |
dc.rights | ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า | |
dc.rights.holder | Mahidol University | |
dc.subject | Beauty shops -- Design and construction | |
dc.subject | Nail art (Manicuring) | |
dc.title | Workstation design for nail salon | |
dc.title.alternative | การออกแบบสถานีงานสำหรับช่างทำเล็บ | |
dc.type | Master Thesis | |
dcterms.accessRights | open access | |
mods.location.url | http://mulinet11.li.mahidol.ac.th/e-thesis/2553/cd446/4836084.pdf | |
thesis.degree.department | Faculty of Public Health | |
thesis.degree.discipline | Industrial Hygiene and Safety | |
thesis.degree.grantor | Mahidol University | |
thesis.degree.level | Master's degree | |
thesis.degree.name | Master of Science |