The development of music education in Thailand's higher education
Issued Date
2023
Copyright Date
2010
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xiii, 223 leaves : ill.
Access Rights
restricted access
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2010
Suggested Citation
Nantida Chandransu The development of music education in Thailand's higher education. Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2010. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89405
Title
The development of music education in Thailand's higher education
Alternative Title(s)
พัฒนาการดนตรีศึกษาในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย
Author(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของดนตรีศึกษาในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยตั้งแต่แรกก่อรูป รวมทั้ง วิเคราะห์บริบท ปัจจัยเงื่อนไข และข้อจำกัดที่เกี่ยวข้อง และศึกษาการปรับตัวของดนตรีศึกษาในระดับอุดมศึกษาท่ามกลางกระแสการ เปลี่ยนแปลงในรอบทศวรรษ (2541 - 2550) ทั้งในด้านปรัชญา นโยบาย การบริหารจัดการ หลักสูตร บุคลากร และนิสิตนักศึกษา รวมทั้งศึกษา แนวโน้มและทิศทางของดนตรีศึกษาในระดับอุดมศึกษาในทศวรรษหน้า (2551 - 2560) เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการจัดทำยุทธศาสตร์เพื่อการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนดนตรีในระดับอุดมศึกษา โดยใช้ระเรียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งเน้นการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เดี่ยวแบบ เจาะลึก การสนทนากลุ่มแบบเจาะจง และการประชุมระดมสมอง ประกอบด้วยผู้รู้และเป็นผู้ร่วมสมัยในเหตุการณ์ต่างๆ ในแต่ละช่วงของ พัฒนาการการจัดการศึกษาดนตรี ผู้บริหารสถาบันดนตรี ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาไทย นักคิด นักยุทธศาสตร์ จนถึงผู้ที่เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ ส่วนเสีย ต่อการจัดการศึกษาดนตรี การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของดนตรีศึกษาในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยตั้งแต่แรกก่อรูป รวมทั้ง วิเคราะห์บริบท ปัจจัยเงื่อนไข และข้อจำกัดที่เกี่ยวข้อง และศึกษาการปรับตัวของดนตรีศึกษาในระดับอุดมศึกษาท่ามกลางกระแสการ เปลี่ยนแปลงในรอบทศวรรษ (2541 - 2550) ทั้งในด้านปรัชญา นโยบาย การบริหารจัดการ หลักสูตร บุคลากร และนิสิตนักศึกษา รวมทั้งศึกษา แนวโน้มและทิศทางของดนตรีศึกษาในระดับอุดมศึกษาในทศวรรษหน้า (2551 - 2560) เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการจัดทำยุทธศาสตร์เพื่อการ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนดนตรีในระดับอุดมศึกษา โดยใช้ระเรียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งเน้นการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เดี่ยวแบบ เจาะลึก การสนทนากลุ่มแบบเจาะจง และการประชุมระดมสมอง ประกอบด้วยผู้รู้และเป็นผู้ร่วมสมัยในเหตุการณ์ต่างๆ ในแต่ละช่วงของ พัฒนาการการจัดการศึกษาดนตรี ผู้บริหารสถาบันดนตรี ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาไทย นักคิด นักยุทธศาสตร์ จนถึงผู้ที่เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ ส่วนเสีย ต่อการจัดการศึกษาดนตรี
Degree Name
Doctor of Philosophy
Degree Level
Doctoral Degree
Degree Department
College of Music
Degree Discipline
Music
Degree Grantor(s)
Mahidol University