Neonatal screening for thalassemia and hemoglobinopathies by isoelectric focusing (IEF) in Thai neonates
Issued Date
2010
Copyright Date
2010
Resource Type
Language
eng
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
xvi, 92 leaves : ill.
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
Mahidol University
Bibliographic Citation
Thesis (M.Sc. (Clinical Pathology))--Mahidol University, 2010
Suggested Citation
Punyanuch Pornpanich Neonatal screening for thalassemia and hemoglobinopathies by isoelectric focusing (IEF) in Thai neonates. Thesis (M.Sc. (Clinical Pathology))--Mahidol University, 2010. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/95509
Title
Neonatal screening for thalassemia and hemoglobinopathies by isoelectric focusing (IEF) in Thai neonates
Alternative Title(s)
การตรวจกรองธาลัสซีเมียและภาวะฮีโมโกลบินผิดปกติในทารกแรกเกิดด้วยวิธีไอโซอิเลคทริกโฟกัสซิง (ไออีเอฟ)
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
Neonatal screening for hemoglobin (Hb) disorders is a standard of care in several developed countries. Such practice has not been established in Thailand where α and β thalassemia and hemoglobin E (Hb E) are highly prevalent. Early identification of α-thalassemia and Hb E might be useful to further strengthen the prevention and control for severe thalassemias in our country. As well, this approach could help detect some thalassemia patients at an early age for immediate and appropriate management for their disease. The main objective of this thesis is to set up a standard reference range for definitive diagnosis of thalassemia diseases and carriers from neonatal screening using iso-electric focusing (IEF). In addition, the sensitivity and specificity of such a test in these circumstances is evaluated. Qualitative analysis was performed by using the IEF pattern from standard protocol and quantitative analyses by Isoscan® Imaging System, special software designed to detect and calculate the proportion of each hemoglobin bands' intensities from IEF gels, were performed in 350 newborn's dried blood spots. Hemoglobin data were analyzed and compared with the genotype analysis using PCR-based DNA studies. The combination of Hb Bart's levels and Hb E levels can determine Hb H disease, α thalassemia-1 trait, Hb E mutation with or without α-thalassemia mutation with 100% of both sensitivity and specificity. To determine α thalassemia-2 trait, we set 0.3% of Hb Bart's as the cut-off level using an ROC curve which provides 92.86% sensitivity and 74.0% specificity. Using a standard reference range and guidelines for IEF diagnosis proposed in this study, definitive diagnosis of α thalassemia-1 carrier, Hb H disease, Hb E trait with or without α-thalassemias, and homozygous Hb E can now be possible with a high reliability. Such genetic information on thalassemia and hemoglobin disorder could now be recorded electronically into the Thai national identification card (ID) and can be used in the near future when these babies reach their reproductive age. Moreover, the cost of making diagnosis of thalassemia and hemoglobin disorders at this stage is 10 times lower than conventional methods. Incorporation of hemoglobin analysis by IEF into the pre-existing newborn screening program in Thailand will help strengthen our prevention and control program for severe thalassemia syndromes in the future.
การตรวจกรองธาลัสซีเมียแลภาวะฮีโมโกลบินผิกปกติในทารกแรกเกิดเป็นมาตรฐานทางสาธารณสุขในประเทศพัฒนาแล้วหลายปรเทศ แต่ยังไม่เคยมีการตรวจดังกล่าวเป็นมาตรฐานในประเทศไทยซึ่งพบความชกของพาหะอัลฟ่าธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินอีสูงมาก การตรวจกรองภาวะดังกล่าวในทารกแรกเกิดน่าจะมีประโยชน์สำหรับการควบคุมและป้องกันการเกิดโรคในประเทศนี้ได้ ตลอดจนสามารถช่วยวินิจฉัยผู้ป่วยบางรายตั้งแต่ในระยะเริ่มต้น เพื่อให้แพทย์สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์เพื่อกำหนดค่ามาตรฐานของระดับฮีโมโกลบินและหาความไว (sensitivity) และความจำเพาะ Specificity) ของเทคนิคไอไซอิเลคทริกไฟกัสซิง (ไออีเอฟ) เพื่อวินิจฉัยโรคและพาหะธาลัสซีย จากการตรวจกรองในทารกแรกเกิดในประเทศไทย จากการตรวจหาชนิดของปริมาณของฮีโมโกลบินด้วยเทคนิคไออีเอฟและไอโซสแกน (Isoscan) จากหยดเลือดบนกระดาษกรอง (Dried Blood Spot) ของทารกแรกเกิดจำนวน 350 ราย พบว่าการใช้ระดับฮีโมโกลบินบาร์ทส์ ร่วมกับระดับฮีโมโกลบินอี (%) สามารถวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียชนิดฮีโมโกลบินเอช, พาหะอัลฟ่าธาลัสซีเมีย-1 และ ฮีโมโกลบินอีที่มีหรือไม่มีพาหะอัลฟ่าธาลัสซีเมียร่วมด้วยโดยมีความไวและความจำเพาะ 100% และ จากการวิเคราะห์ ROC curve พบว่าที่ระดับฮีโมโกลบินบาร์ทส์ 0.3% สามารถวินิจฉัยพาหะอัลฟ่าธาลัสซีเมีย -2 ด้วยความไว 92.86% ความจำเพาะ 74.0% ทั้งนี้มีการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ เป็นวิธีมาตรฐาน โดยสรุป เทคนิคไออีเอฟมีประโยชน์ในการตรวจกรองทารกแรกเกิดเพื่อวินิจฉัยโรคและพาหะธาลัสซีเมียโดยให้ความไวและความจำเพาะที่สูงด้วยการใช้ค่ามาตฐานที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถใช้วินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียชนิดฮีโมโกลบินเอช, ภาวะโฮโมไซกัสฮีโมโกลบินอี, พาหะอลห่าธาลัสซีเมีย-1 และ ฮีโมโกบินอีที่มีหรือไม่มีพาหะอัลห่าธาลัสซีเมียร่วมด้วยได้อย่างแน่นอน ข้อมูลจากการวินิจฉัยในทารกดังกล่าวสามารถเก็บรักษาไว้ได้ในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์และนำกลับมาใช้เมื่อทารกเหล่านี้ย่างเข้าสู่วัยเจริญพนธ์ นอกจากนี้การตรวจกรองทารากแรกเกิดด้วยวิธีนี้มีค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่าวิธีปกติประมาณ 10 เท่า และ สามารถนำไปใช้ร่วมกับการตรวจกรองทารกแรกเกิดเพื่อการวินิจฉัยโรคอื่น ๆ ที่มีอยู่แล้ว เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของโครงการควบคุมและป้องกันการเกิดโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงในประเทศไทยในอนาคต
การตรวจกรองธาลัสซีเมียแลภาวะฮีโมโกลบินผิกปกติในทารกแรกเกิดเป็นมาตรฐานทางสาธารณสุขในประเทศพัฒนาแล้วหลายปรเทศ แต่ยังไม่เคยมีการตรวจดังกล่าวเป็นมาตรฐานในประเทศไทยซึ่งพบความชกของพาหะอัลฟ่าธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินอีสูงมาก การตรวจกรองภาวะดังกล่าวในทารกแรกเกิดน่าจะมีประโยชน์สำหรับการควบคุมและป้องกันการเกิดโรคในประเทศนี้ได้ ตลอดจนสามารถช่วยวินิจฉัยผู้ป่วยบางรายตั้งแต่ในระยะเริ่มต้น เพื่อให้แพทย์สามารถให้การรักษาได้ทันท่วงที วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์เพื่อกำหนดค่ามาตรฐานของระดับฮีโมโกลบินและหาความไว (sensitivity) และความจำเพาะ Specificity) ของเทคนิคไอไซอิเลคทริกไฟกัสซิง (ไออีเอฟ) เพื่อวินิจฉัยโรคและพาหะธาลัสซีย จากการตรวจกรองในทารกแรกเกิดในประเทศไทย จากการตรวจหาชนิดของปริมาณของฮีโมโกลบินด้วยเทคนิคไออีเอฟและไอโซสแกน (Isoscan) จากหยดเลือดบนกระดาษกรอง (Dried Blood Spot) ของทารกแรกเกิดจำนวน 350 ราย พบว่าการใช้ระดับฮีโมโกลบินบาร์ทส์ ร่วมกับระดับฮีโมโกลบินอี (%) สามารถวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียชนิดฮีโมโกลบินเอช, พาหะอัลฟ่าธาลัสซีเมีย-1 และ ฮีโมโกลบินอีที่มีหรือไม่มีพาหะอัลฟ่าธาลัสซีเมียร่วมด้วยโดยมีความไวและความจำเพาะ 100% และ จากการวิเคราะห์ ROC curve พบว่าที่ระดับฮีโมโกลบินบาร์ทส์ 0.3% สามารถวินิจฉัยพาหะอัลฟ่าธาลัสซีเมีย -2 ด้วยความไว 92.86% ความจำเพาะ 74.0% ทั้งนี้มีการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ เป็นวิธีมาตรฐาน โดยสรุป เทคนิคไออีเอฟมีประโยชน์ในการตรวจกรองทารกแรกเกิดเพื่อวินิจฉัยโรคและพาหะธาลัสซีเมียโดยให้ความไวและความจำเพาะที่สูงด้วยการใช้ค่ามาตฐานที่ได้จากการศึกษานี้ สามารถใช้วินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียชนิดฮีโมโกลบินเอช, ภาวะโฮโมไซกัสฮีโมโกลบินอี, พาหะอลห่าธาลัสซีเมีย-1 และ ฮีโมโกบินอีที่มีหรือไม่มีพาหะอัลห่าธาลัสซีเมียร่วมด้วยได้อย่างแน่นอน ข้อมูลจากการวินิจฉัยในทารกดังกล่าวสามารถเก็บรักษาไว้ได้ในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์และนำกลับมาใช้เมื่อทารกเหล่านี้ย่างเข้าสู่วัยเจริญพนธ์ นอกจากนี้การตรวจกรองทารากแรกเกิดด้วยวิธีนี้มีค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่าวิธีปกติประมาณ 10 เท่า และ สามารถนำไปใช้ร่วมกับการตรวจกรองทารกแรกเกิดเพื่อการวินิจฉัยโรคอื่น ๆ ที่มีอยู่แล้ว เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของโครงการควบคุมและป้องกันการเกิดโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงในประเทศไทยในอนาคต
Description
Clinical Pathology (Mahidol University 2010)
Degree Name
Master of Science
Degree Level
Master's degree
Degree Department
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital
Degree Discipline
Clinical Pathology
Degree Grantor(s)
Mahidol University