ความสัมพันธ์ระหว่างโรคร่วม สัมพันธภาพในครอบครัว การสนับสนุนกิจกรรมซับซ้อน ความไว้วางใจในทีมสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
Issued Date
2567
Copyright Date
2560
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ญ, 170 แผ่น : ภาพประกอบ
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้สูงอายุ))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560
Suggested Citation
ประภัสสร พิมพาสาร
ความสัมพันธ์ระหว่างโรคร่วม สัมพันธภาพในครอบครัว การสนับสนุนกิจกรรมซับซ้อน ความไว้วางใจในทีมสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
. วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้สูงอายุ))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560
. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91822
Title
ความสัมพันธ์ระหว่างโรคร่วม สัมพันธภาพในครอบครัว การสนับสนุนกิจกรรมซับซ้อน ความไว้วางใจในทีมสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
Alternative Title(s)
Relationships between comorbidity, family relationship, instrumental support, trust in health care team, and self-care behaviors in older adults with heart failure
Author(s)
Advisor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคร่วม สัมพันธภาพในครอบครัว การสนับสนุนกิจกรรมซับซ้อน ความไว้วางใจในทีมสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว โดยใช้กรอบแนวคิดการดูแลตนเองในผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวของ Riegel และคณะ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุอายุ 60 - 79 ปีที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว จำนวน 116 คน โดยใช้แบบบันทึกโรคร่วม แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไปสัมพันธภาพในครอบครัว การสนับสนุนกิจกรรมซับซ้อน ความไว้วางใจในทีมสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ สเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีระดับความรุนแรงของโรคร่วมในระดับต่ำ (X =2.48, SD = 1.24) สัมพันธภาพในครอบครัว การสนับสนุนกิจกรรมซับซ้อน ความไว้วางใจในทีมสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอยู่ในระดับสูง (X = 68.85, SD =12.69; X = 20.62, SD = 5.46; X = 44.16, SD = 4.28; X = 83.70, SD = 10.64) ตามลำดับ และผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่า โรคร่วม สัมพันธภาพในครอบครัว การสนับสนุนกิจกรรมซับซ้อน และความไว้วางใจในทีมสุขภาพ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 0.191, p < 0.05, r = 0.360, p < 0.01, r = 0.348, p < 0.01, r = 0.221, p < 0.05) ตามลำดับ จากผลการศึกษา พยาบาลและทีมสุขภาพสนับสนุนให้สมาชิกในครอบครัวมีสัมพันธภาพที่ดีและส่งเสริมให้มีบทบาทในการสนับสนุนกิจกรรมซับซ้อนในผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
This research studies correlations between comorbidities, family relationship, instrumental support, trust in health care team, and self-care behaviors in older adults with heart failure. The situation-specific theory of heart failure self-care model developed by Riegel et al was used as the conceptual framework. The sample consisted of 116 older adults with heart failure aged 60-79 years. Data were collected by using Charlson Comorbidity Index, (CCI), interview data on family relationship, instrumental (heart failure) social support scales, trust in their health care team, and self-care behaviors in heart failure. The data were analyzed by descriptive statistics and Spearman's correlation coefficient. The results showed that the samples had low levels of comorbidities with a mean±SD of 2.48±1.24, and high levels of family relationship, instrumental support, trust in health care team, and self-care behaviors in older adults with heart failure with means±SDs of 68.85±12.69, 20.62±5.46, 44.16±4.28, and 83.70±10.64, respectively. Analysis of the relationship between variables show that comorbidities, family relationship, instrumental support, and trust in health care team statistically significantly relate with self-care behaviors in older adults with heart failure (r = 0.191, p < 0.05, r = 0.360, p < 0.01, r = 0.348, p < 0.01, and r = 0.221, p < 0.05 respectively). The study findings indicate that nurses and health care teams should encourage family members in enhancing family relationship and provide instrumental support in older adults with heart failure.
This research studies correlations between comorbidities, family relationship, instrumental support, trust in health care team, and self-care behaviors in older adults with heart failure. The situation-specific theory of heart failure self-care model developed by Riegel et al was used as the conceptual framework. The sample consisted of 116 older adults with heart failure aged 60-79 years. Data were collected by using Charlson Comorbidity Index, (CCI), interview data on family relationship, instrumental (heart failure) social support scales, trust in their health care team, and self-care behaviors in heart failure. The data were analyzed by descriptive statistics and Spearman's correlation coefficient. The results showed that the samples had low levels of comorbidities with a mean±SD of 2.48±1.24, and high levels of family relationship, instrumental support, trust in health care team, and self-care behaviors in older adults with heart failure with means±SDs of 68.85±12.69, 20.62±5.46, 44.16±4.28, and 83.70±10.64, respectively. Analysis of the relationship between variables show that comorbidities, family relationship, instrumental support, and trust in health care team statistically significantly relate with self-care behaviors in older adults with heart failure (r = 0.191, p < 0.05, r = 0.360, p < 0.01, r = 0.348, p < 0.01, and r = 0.221, p < 0.05 respectively). The study findings indicate that nurses and health care teams should encourage family members in enhancing family relationship and provide instrumental support in older adults with heart failure.
Description
การพยาบาลผู้สูงอายุ (มหาวิทยาลัยมหิดล 2560)
Degree Name
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะพยาบาลศาสตร์
Degree Discipline
การพยาบาลผู้สูงอายุ
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล