Browsing by Author "มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์"
Now showing 1 - 20 of 47
- Results Per Page
- Sort Options
Item Metadata only 99 ปี เพลงสรรเสริญพระบารมี(2530) สุกรี เจริญสุข; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Journal Mahidol Music Journal(Mahidol University. College of Music, 2018) มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์; Mahidol University. College of MusicMahidol Music Journal publishes research articles, scholarly articles, and creative works in music. It encompasses all branches of music studies including, but not limited to, music education, musicology, ethnomusicology, music business, music technology, music therapy, and includes all genres of music (classical, popular, jazz, Thai music, world music, etc.). It also accepts papers from interdisciplinary studies in which music is part of the study. Every article submitted to Mahidol Music Journal has to go through a double-blind peer review process with three reviewers per paper.Item Open Access MU Goes Less toward Zero Waste มหาวิทยาลัยมหิดลไร้ถังขยะ(2553) ธัญเดช นิมมานวุฒิพงษ์; ทิพวรรณ ศรีสวัสดิ์; กำธร ตันติวิทยาทันต์; สมชัย ตระการรุ่ง; กรุณี ขวัญบุญจัน; วราภรณ์ จรรยาประเสริฐ; อำภา สุจิณโณ; อารี จำปากลาย; นิพนธ์ ครุฑเครือศรี; สุวัฒนา จุฬาวัฒนฑล; วรรธนะ ชลายนเดชะ; พีระ ครึกครื้นจิตร; ทวีวัลย์ ตันสถิต; นิรชา เรืองดารกานนท์; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเภสัชศาสตร์; มหาวิทยาลัยมหิดล. ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม; มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์; มหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองทรัพยากรบุคคล; มหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีการกีฬาJournal Music Journal(มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์, 2016) มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์; Mahidol University. College of MusicMahidol University's Music Journal is a bilingual (Thai/English) publication that serves to promote music scholarship in Thailand and Southeast Asia. Overseen by Mahidol Universty's College of Music, this monthly peer-reviewed journal publishes all manner of music reviews and scholarly writings. Now in its 18th year of publication, its contents are undergoing the process of being indexed with RILM (Répertoire International de Littérature Musicale).Publication Open Access Thailand International Jazz Conference 2010 (TIJC 2010) เทศกาลดนตรีแจ๊สนานาชาติเพื่อการเรียนรู้ ประจำปี 2553 เรียนรู้แจ๊ส เพื่อสังคมแห่งความสุข(2553) กฤษติ์ บูรณวิทยวุฒิ; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Publication Metadata only The Use of Music Therapy Interventions to Improve Pre-Reading Skills and Reduce Off-Task Behaviors during Reading Tasks of a Child with Autism Spectrum Disorders(2559) วิพุธ เคหะสุวรรณ; Wiputh Kehasuwan; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์The purpose of this study was to examine the music therapy interventions used to improve pre-reading skills and reduce off-task behaviors during reading tasks of a 6-year-old child with Autism Spectrum Disorders (ASD). This study employed ABAB single-case experimental and qualitative case-study design. In the study, the music therapy interventions (B) were provided four days a week alternatively with non-music conditions each week including five days of baseline phase (A). The Word Reading Test (WRT) was used to evaluate pre-reading skills and Off-task Behavior Observation Form was employed to measure the off-task behaviors of the participant during reading tasks. The results were represented using visual inspection and qualitative case analysis. The results showed that the word reading scores of the participant were increased during both music and non-music conditions, but the scores rapidly improved during participating in music therapy sessions. In terms of off-task behaviors, participant exhibited off-task behaviors about 50% of the sessions. On the contrary, the off-task decreased dramatically while engaging in music therapy sessions and also reduced during participating in the second non-music phase.Item Metadata only การ์ดเล่นเกมส์สำหรับฝึกการเขียนคอร์ดดนตรีแบบฮาร์โมนีจักรกฤษ เจริญสุข; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Publication Open Access การวิเคราะห์และแนวทางการฝึกซ้อมเพื่อการแสดง บทประพันธ์ “โหมโรงพระปรางค์สามยอด” สำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม(2565) วิษณ์กมล ชัยวานิชศิริ; อภิวัฒน์ สุริยศ; Viskamol Chaiwanichsiri; Apiwat Suriyos; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์; มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์บทประพันธ์ “โหมโรงพระปรางค์สามยอด” เป็นผลงานประพันธ์เพลงสำหรับวงดุริยางค์เครื่องลม ประพันธ์โดย วิษณ์กมล ชัยวานิชศิริ โดยได้รับแรงบันดาลใจจากหนึ่งในสถานที่สำคัญในจังหวัดลพบุรี ได้แก่ พระปรางค์สามยอด ในการสร้างสรรค์ผลงานนี้ผู้ประพันธ์ได้นำองค์ประกอบทางวัฒนธรรมดนตรีของไทยมาใช้ ได้แก่ ทำนอง “ระบำลพบุรี” อันเป็นบทเพลงประจำจังหวัดลพบุรีและทำนอง “ลิงกับเสือ” ที่สื่อความหมายแทนลิง อันเป็นสัตว์เอกลักษณ์ประจำจังหวัดลพบุรี อีกทั้งได้นำเทคนิค “เหลื่อม” ในดนตรีไทย มาใช้ในการสร้างสรรค์บทเพลง นอกจากนี้ผู้ประพันธ์ได้นำเทคนิคการพัฒนาทำนองดนตรี การเขียนแนวทำนองสอดประสาน และเรียบเรียงเสียงประสานในรูปแบบตะวันตกมาใช้ เพื่อสร้างสีสันให้บทประพันธ์มีความงดงามมากยิ่งขึ้น บทความชิ้นนี้มุ่งวิเคราะห์โครงสร้างและทำนอง ตลอดจนการนำเสนอแนวทางการฝึกซ้อมในจุดที่สำคัญ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้นำบทเพลงไปแสดงและผู้ที่สนใจการประพันธ์เพลงที่มีกลิ่นอายความเป็นวัฒนธรรมไทยต่อไปPublication Open Access การวิเคราะห์วิธีการประพันธ์ทำนองเพลงไทยในลักษณะการแต่งขยายและเเต่งตัดทำนองจากเพลงอัตราจังหวะสองชั้น(2538) ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์; Narongchai Pidokrat; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Item Metadata only ความเชื่อเรื่องเจ้าที่ในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศาลายา และ เจ้าพ่อขุนทุ่ง(2542) พูนพิศ อมาตยกุล; สุกรี เจริญสุข; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Publication Open Access ความเป็นครูต้นแบบด้านดนตรีไทยของครูชยุดี วสวานนท์(2564) อนุกููล แว่นประโคน; ณัฐชยา นัจจนาวากุุล; Anukul Vanprakhon; Nachaya Natchanawakul; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์. สาขาวิชาดนตรีศึกษา; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของคุณครูชยุุดี วสวานนท์ และศึกษา ความเป็นครูต้นแบบทางด้านดนตรีไทย โดยการวิจัยเชิงคุุณภาพ จากการศึกษาพบว่า ประสบการณ์และอัต ลักษณ์ความเป็นครูดนตรีของครูชยุดี วสวานนท์นั้น เกิดจากการหล่อหลอมมาจากบิดา คือ คุณพ่อพยนต์ ว สวานนท์ โดยได้รับการบ่มเพาะความเป็นนักดนตรีที่มีฝีมือขั้นสููง จนเป็นผู้มีความเป็นเลิศทางด้านการตีขิม ซึ่่ง เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความเป็นครููต้นแบบทางด้านดนตรีไทย พบว่าท่านเป็นผู้มีลักษณะความเป็นครูู 3 ด้าน คือ 1. ความรู้ท่านเป็นผู้มีความรอบรู้มีความสามารถทางด้านการตีขิมในขั้นสููง มีทักษะและเทคนิคที่เป็น แบบอย่างเฉพาะของตนเอง สามารถสร้างสรรค์ทางบรรเลงขิมให้มีความโดดเด่นได้ อีกทั้งท่านยังเป็นผู้นำในการ ผู้ อนุรักษ์ มีความรอบรู้ สามารถถอธิบายองค์ความรู้ได้อย่างชัดเจน 2. คุุณธรรม จริยธรรม ท่านมีความวิริยะอุตุ สาหะ มีความขยันหมั่นเพียร ประหยัดเสียสละ อดทนและมีความเชื่่อมั่นในตนเอง เป็นผู้มีคุุณธรรมสููง เป็นแบบอย่่าง ในการทำความดีมีความกตัญญููกตเวทีและทำนุุบำรุุงพระพุุทธศาสนา มีความรัก ความห่วงใยและปรารถนาดี ต่อศิษย์ มีความสมถะและรักสันโดษ มีมารยาทดีอ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ ให้ความสำคัญกับเรื่่องระเบียบ วินัย ท่านได้สร้างลููกศิษย์ทั้งเรื่่องความตรงต่อเวลา การฝึกซ้อม และเน้นย้ำเรื่่องธรรมเนียมปฏิบัติมารยาทของ การเป็นนักดนตรีที่่่ดี 3. ทักษะท่านเป็นผู้มีความสามารถทางด้านศิลปะขั้นสููง มีทักษะและเทคนิคการถ่ายทอด ที่เป็นแบบอย่างเฉพาะของตนเอง โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นความแตกต่างระหว่างบุุคคล ช่วงวัย และพื้้นฐานความรู้ท่านใช้ศิลปะการสอนโดยใช้แรงเสริมด้านบวกในการกระตุ้นผู้เรียน ให้มีกำลังใจ ใช้กระบวนการสอนโดยการแบ่งกลุ่ม โดยครููจะเป็นผู้คัดเลือกผู้นำในแต่ละกลุ่มทำหน้าที่ช่วยสอน ภายใต้การดููแลของครููอีกขั้นหนึ่่ง นอกจากนั้นยังใช้กระบวนการสอนแบบเพื่่อนช่วยเพื่อน พี่ ช่วยน้อง ส่งผลให้ เกิดปฏิสัมพันธ์ที่่ดีระหว่างลููกศิษย์ต่างวัย คุุณลักษณะทั้ง 3 ประการ ถููกพัฒนามาจนกลายเป็นลักษณะนิสัยและ สั่งสมเป็นประสบการณ์ที่ส่งผลต่อการหล่อหลอมให้ท่านเป็นครููต้นแบบด้านดนตรีไทยมาจนทุุกวันนี้Item Metadata only คำชี้แจงประกอบการขอจัดตั้งวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทยเป็นองค์การมหาชน(2558) วิทยาลัยดุริยางคศิลป์; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Item Open Access คำแนะนำสำหรับนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน(2563) มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Item Metadata only คู่มือครูดนตรี : ปลูกดอกไม้ในดวงใจ(2557) สุกรี เจริญสุข; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Item Metadata only คู่มือพ่อแม่หรือผู้ปกครองเพื่อการค้นพบและส่งเสริมเด็กผู้ที่มีความสามารถพิเศษทางดนตรีสุกรี เจริญสุข; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Item Metadata only เครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีตะวันตก ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555สุกรี เจริญสุข; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Publication Open Access เครื่องมือที่ใช้ประเมินผลในงานวิจัยทางดนตรีบำบัด: การวิเคราะห์เนื้อหา(2557) สมชัย ตระการรุ่ง; นัทธี เชียงชะนา; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา. ภาควิชาหูหนวกศึกษาการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เนื้อหาจากงานวิจัยทางดนตรีบำบัดในประเด็นเกี่ยวกับเครื่องมือที่ใช้ประเมินผลสัมฤทธิ์ที่ได้รับจากการบำบัดด้วยดนตรี โดยผู้วิจัยทำการคัดเลือกงานวิจัยทางดนตรีบำบัดที่จัดทำขึ้นในประเทศไทยจากฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย (TIAC) และฐานข้อมูลวิจัยของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ จนได้งานวิจัยที่ตรงตามเกณฑ์ในการคัดเลือกจำนวนทั้งหมด 65 เรื่อง ซึ่งเผยแพร่ในช่วงปี พ.ศ. 2528 – 2553 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกสาระด้านเครื่องมือที่ใช้ประเมินผลในงานวิจัยทางดนตรีบำบัด จากนั้นทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย เพื่อจำแนก และจัดหมวดหมู่สาระจากงานวิจัย ผลการวิจัย พบว่า งานวิจัยส่วนใหญ่ใช้เครื่องมือประเภทแบบวัดความเครียด/ความวิตกกังวล และแบบประเมินความเจ็บปวด ในจำนวนที่เท่ากัน (ร้อยละ 20) โดยส่วนใหญ่ใช้เครื่องมือในลักษณะของมาตรประมาณค่า (ร้อยละ 70.8) เครื่องมือส่วนใหญ่ใช้ประเมินผู้ที่มีความบกพร่องทางอารมณ์และจิตใจมากที่สุด (ร้อยละ 47.7) โดยมีการหาคุณภาพของเครื่องมือด้านความเที่ยงแบบ Cronbach (ร้อยละ 41.5) และมีการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหามากที่สุด (ร้อยละ 29.2) ในด้านผลการวิเคราะห์ระยะของการประเมินพบว่า เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินส่วนใหญ่ใช้ในการประเมินก่อนและหลังการบำบัด (ร้อยละ 60) และใช้ประเมินเฉพาะหลังการบำบัด (ร้อยละ 21.5)Publication Open Access ชุดกิจกรรมดนตรีเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนวัดด่านสำโรง(2564) ชาธิษากมณฐ์ ธิติกุลธรณ์; ธันยาภรณ์ โพธิกาวิน; ปรีญานันท์ พร้อมสุขกุล; Chathisakamon Thitikultorn; Dhanyaporn Phothikawin; Preeyanun Promsukkul; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์การวิจัยครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของสารนิพนธ์ เรื่อง “ชุดกิจกรรมดนตรีเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนวัดด่านสำโรง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการ เขต 1” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างชุดกิจกรรมดนตรีเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนวัดด่านสำโรง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการ เขต 1 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลการเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย ทั้งก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ดนตรี โดยชุดกิจกรรมดนตรีเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย ระดับชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนวัดด่านสำโรง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการ เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนวัดด่านสำโรง ปีการศึกษา 2563 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) 1 ห้องเรียน จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมดนตรีเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน (3) แบบสังเกตแบบมีส่วนร่วม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (gif.latex?\bar{x}) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสถิติ t-test dependent ด้วยโปรแกรม excel ผลการวิจัย พบว่า (1) การสร้างชุดกิจกรรมดนตรีเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ ได้ศึกษาหลักสูตรปฐมวัยการศึกษา พุทธศักราช 2560 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ เชื่อมโยงไปกับทักษะทางดนตรีทั้ง 6 ทักษะ แล้วนำมาทำการสร้างชุดกิจกรรมและแผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมตามลำดับขั้น ทั้ง 6 กิจกรรม ได้แก่ (1.1) กิจกรรมเสียงและการค้นพบ (1.2) กิจกรรมโด เร มี ฮัมเป็นเพลง (1.3) กิจกรรมมาเล่นกันเถอะ มาขยับกันเถอะ (1.4) กิจกรรมรถบัสแห่งจินตนาการ (1.5) กิจกรรมพยางค์จังหวะ (1.6) กิจกรรมนิทานเพลงสร้างสรรค์ (2) ผลการเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย ทั้งก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ดนตรี โดยชุดกิจกรรมดนตรีเพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับเด็กปฐมวัย พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบหลังเรียน สูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Item Metadata only ซอต้นนิติธร หิรัญหาญกล้า; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์Item Metadata only ซอต้นนิติธร หิรัญหาญกล้า; มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
- «
- 1 (current)
- 2
- 3
- »