Publication: ผลของการให้บริการฝึกพูดผ่านระบบการฝึกพูดออนไลน์
Issued Date
2566
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
Journal Title
รามาธิบดีเวชสาร
Volume
46
Issue
1
Start Page
23
End Page
31
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 46, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2566), 23-31
Suggested Citation
ทิพยวารี เอื้อวรคุณานันท์, พิชญ์อาภา เดชเกตุ, ทศพร โอภาสเสรีผดุง, เฉลิมชัย นิลสุวรรณโฆษิต, ปรางทิพย์ ศิริชื่นวิจิตร, ณัฐธิดา ชูเดชา, กุลวดี ยลวงศ์, สุดารัตน์ ภัคโชค, ณิชารีย์ โชคบุญดี, Tipwaree Aueworakhunanan, Pitcharpa Dejket, Tossaporn Opassereepadung, Chalermchai Nilsuwankhosit, Prangtip Sirichienvichit, Nuttida Chudecha, Kulwadee Yolwong, Sudarat Phakkachok, Nicharee Chokboondee ผลของการให้บริการฝึกพูดผ่านระบบการฝึกพูดออนไลน์. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 46, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2566), 23-31. 31. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/109778
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลของการให้บริการฝึกพูดผ่านระบบการฝึกพูดออนไลน์
Alternative Title(s)
Effectiveness of Speech Telepractice System Service
Author(s)
ทิพยวารี เอื้อวรคุณานันท์
พิชญ์อาภา เดชเกตุ
ทศพร โอภาสเสรีผดุง
เฉลิมชัย นิลสุวรรณโฆษิต
ปรางทิพย์ ศิริชื่นวิจิตร
ณัฐธิดา ชูเดชา
กุลวดี ยลวงศ์
สุดารัตน์ ภัคโชค
ณิชารีย์ โชคบุญดี
Tipwaree Aueworakhunanan
Pitcharpa Dejket
Tossaporn Opassereepadung
Chalermchai Nilsuwankhosit
Prangtip Sirichienvichit
Nuttida Chudecha
Kulwadee Yolwong
Sudarat Phakkachok
Nicharee Chokboondee
พิชญ์อาภา เดชเกตุ
ทศพร โอภาสเสรีผดุง
เฉลิมชัย นิลสุวรรณโฆษิต
ปรางทิพย์ ศิริชื่นวิจิตร
ณัฐธิดา ชูเดชา
กุลวดี ยลวงศ์
สุดารัตน์ ภัคโชค
ณิชารีย์ โชคบุญดี
Tipwaree Aueworakhunanan
Pitcharpa Dejket
Tossaporn Opassereepadung
Chalermchai Nilsuwankhosit
Prangtip Sirichienvichit
Nuttida Chudecha
Kulwadee Yolwong
Sudarat Phakkachok
Nicharee Chokboondee
Abstract
บทนำ: การฝึกพูดออนไลน์เป็นระบบที่ยังไม่มีหน่วยงานใดในประเทศไทยศึกษามาก่อน ซึ่งการฝึกพูดจำเป็นต้องคำนึงถึงประสิทธิภาพการฝึกและความพึงพอใจของผู้ป่วย เพื่อพัฒนาระบบฝึกพูดออนไลน์ให้มีประสิทธิผลและเป็นต้นแบบการบริการแก่ผู้ป่วยในสถานการณ์โรคระบาด
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาจำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เข้าถึงบริการฝึกพูดออนไลน์ จำนวนผู้ป่วยเก่าที่ติดตามการฝึกพูดได้อย่างต่อเนื่องผ่านการฝึกพูดออนไลน์ และระดับความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อระบบฝึกพูดออนไลน์
วิธีการศึกษา: การศึกษาข้อมูลย้อนหลังในผู้ป่วยที่รับการฝึกพูดออนไลน์ คลินิกฝึกพูด โรงพยาบาลรามาธิบดี ในปี พ.ศ. 2564 เก็บข้อมูลจากการสืบค้นเวชระเบียนและตัวตามรอยทางคลินิกของระบบฝึกพูดออนไลน์ โดยวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนาผลการศึกษา: ผู้ป่วยจำนวนทั้งหมด 524 คนพบว่า ผู้ป่วยใหม่เข้าถึงบริการฝึกพูดออนไลน์และผู้ป่วยเก่าที่สามารถติดตามการฝึกพูดได้ต่อเนื่องผ่านระบบออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ 29.19 และ 70.81 ตามลำดับ และผู้ป่วยมีความพึงพอใจต่อระบบฝึกพูดออนไลน์ในระดับพึงพอใจถึงพึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 97.52 ของผู้ป่วยที่รับบริการฝึกพูดออนไลน์ทั้งหมด
สรุป: การฝึกพูดออนไลน์เป็นระบบที่สามารถใช้ได้ในผู้ป่ วยรายใหม่และรายเก่า และผู้ป่วยมีความพึงพอใจในการรับบริการฝึกพูดผ่านระบบออนไลน์
Background: Telepractice was a new system of speech therapy’s role in Thailand. It should be considered about the effectiveness of therapy and patient’s satisfaction for developing to be a role model in the future. Objectives: To study the number of new patients and present patients who accessed the telepractice, and patient’s satisfaction of the telepractice system. Methods: This retrospective study included 524 patients who accessed Ramathibodi Hospital’s telepractice system in 2021. Researchers collected demographic information and satisfaction from the medical document of telepractice service and clinical tracer of telepractice. Data was analyzed by descriptive statistics. Results: Of 524 patients, there were divided in 2 groups. New patients who accessed telepractice system were 29.19% and present patients who followed with telepractice were 70.81%. Approximately, 97.52% of all patients had very satisfied level in telepractice system. Conclusions: Telepractice can be used in new patients and present patients. Most patients satisfied telepractice system service.
Background: Telepractice was a new system of speech therapy’s role in Thailand. It should be considered about the effectiveness of therapy and patient’s satisfaction for developing to be a role model in the future. Objectives: To study the number of new patients and present patients who accessed the telepractice, and patient’s satisfaction of the telepractice system. Methods: This retrospective study included 524 patients who accessed Ramathibodi Hospital’s telepractice system in 2021. Researchers collected demographic information and satisfaction from the medical document of telepractice service and clinical tracer of telepractice. Data was analyzed by descriptive statistics. Results: Of 524 patients, there were divided in 2 groups. New patients who accessed telepractice system were 29.19% and present patients who followed with telepractice were 70.81%. Approximately, 97.52% of all patients had very satisfied level in telepractice system. Conclusions: Telepractice can be used in new patients and present patients. Most patients satisfied telepractice system service.