Publication: Factors related to the occurrence of diarrheal disease among under-five children in Lalitpur district of Nepal
Submitted Date
2010-05
Accepted Date
2010-08
Issued Date
2010-05
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University.
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.8, No.3, (2010), 237-251
Suggested Citation
Kari T, Tenkendra Karki, Srivanichakorn S, สุพัตรา ศรีวณิชชากร, Supattra Srivanichakorn, Chompikul J, จิราพร ชมพิกุล Factors related to the occurrence of diarrheal disease among under-five children in Lalitpur district of Nepal. Journal of Public Health and Development. Vol.8, No.3, (2010), 237-251. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1637
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors related to the occurrence of diarrheal disease among under-five children in Lalitpur district of Nepal
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปีในอำเภอลาลิพัว ประเทศเนปาล
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional descriptive study was conducted to identify the
factors (socio-demographic, behavioral, child, environmental and
sanitation) related to the occurrence of diarrheal disease in under-five
pre-school children in the Lalitpur district of Nepal. Data of 179 caregivers
of the under-five children were collected from two urban schools, during
the winter season (Jan-Feb, 2010) where the incidence of diarrhea was
high. Data were collected by structured questionnaire and face to face
interviews in both schools. Chi-square test and Multiple Logistic
Regression were used to identify factors related to the occurrence of
diarrheal disease.
Caregivers were mostly female (78.77%), and 72.63% were
mothers. 46.93% had secondary education or higher, and 39.11% were
of low family income. More than half had a fair level of knowledge.
49.16% had good diarrhea practice, and 88% believed that first teeth
emergence can cause diarrhea. Most of their children were 37- 48 months
old. 82.68% had normal birth weight, and 46.93% had exclusive
breastfeeding.
Most caregivers reported no diarrhea in their children in the month
prior to the day of the interview, 20.67% reported one episode, and only
0.56% reported two episodes. 86.84% had watery type of diarrhea.
Diarrhea occurred more often in children of ≥ 30 years old female
caregivers with primary education and having poor practice on diarrhea.
Diarrhea also occurred more often in children with low birth weight
and not exclusively breastfed. However, there was no statistically
significant association. Two factors were statistically significant
associated with the occurrence of diarrheal disease: unhygienic drinking
water storage system (O.R.= 2.53, 95% CI = 1.12 - 5.73) and
unhygienic drainage system by having blocked drainage near by
around the house, (O.R. = 2.12, 95% CI = 1.02 - 4.41). Clean storage
of drinking water and hygienic drainage system should be
encouraged. A good sewerage system may be expected to have a
long term impact in the prevention of diarrhea.
การศึกษาแบบตัดขวางเพื่อค้นหาการปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปีในอำเภอลาลิพัว ประเทศเนปาล ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโรงเรียนที่อยู่ในเมือง 2 แห่งในช่วงฤดูหนาว (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553) ซึ่งเป็นช่วงที่มีอุบัติการณ์ของโรคอุจจาระร่วงสูง โดยการสัมภาษณ์ผู้ดูแลเด็กจำนวน 179 คนตามแบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วย Chi-square test และ Multiple Logistic Regression ผู้ดูแลเด็กส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง และเป็นมารดาของเด็ก 46.93% ของผู้ดูแลเด็กจบการศึกษาระดับมัธยมตอนต้น หรือสูงกว่า 39.11% มีรายได้ครอบครัวน้อย มากกว่า ครึ่งหนึ่งของผู้ดูแลเด็กความรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วงในระดับปานกลาง 49.16% ของผู้ดูแลเด็ก มีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง 88% เชื่อว่าฟันน้ำนมที่ขึ้นซี่แรกสามารถเป็นสาเหตุของการเกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กได้ เด็กส่วนใหญ่มีอายุ 37-48 เดือน 82.68% ของเด็ก มีน้ำหนักแรกเกิดปกติ และ 46.33%ได้กินนมมารดาอย่างเดียว เด็กส่วนใหญ่ไม่เป็นโรคอุจจาระร่วงในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา มีเพียง 20.67% ที่เป็น 1 ครั้งและมีเพียง 0.56% ที่เป็น 2 ครั้ง 86.84% เป็นโรคอุจจาระร่วงแบบถ่ายเป็นน้ำ โรคอุจจาระร่วงในเด็กพบมากในกลุ่มที่ผู้ดูแดเด็กอายุมากกว่า หรือเท่ากับ 30 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาและมีกาปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่ามาตราฐาน และไม่ได้รับนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรก พบว่ามีสัดส่วนการเป็นโรคอุจจาระร่วงได้สูง แต่ความสัมพันธ์นี้ไม่พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอุจจาระร่วงอย่างนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การใช้ภาชนะเก็บน้ำดื่มที่ไม่สะอาด (O.R.= 2.53,95% CI = 1.12 - 5.73)และการมีสิ่งกีดขวางการระบายน้ำดื่มรอบบริเวณบ้าน(O.R.= 2.12,95% CI = 1.02 - 4.41)ควรมีการส่งเสริมให้ประชาชนใช้ภาชนะที่สะอาดในการเก็บน้ำดื่ม และการดูแลไม่ให้มีสิ่งกีดขวางการระบายของน้ำรอบบริเวณบ้าน การมีระบบระบายของเสียที่ดีน่าจะส่งผลต่อการป้องกันการเกิดโรคอุจจาระร่วงได้ในระยะยาว
การศึกษาแบบตัดขวางเพื่อค้นหาการปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปีในอำเภอลาลิพัว ประเทศเนปาล ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโรงเรียนที่อยู่ในเมือง 2 แห่งในช่วงฤดูหนาว (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2553) ซึ่งเป็นช่วงที่มีอุบัติการณ์ของโรคอุจจาระร่วงสูง โดยการสัมภาษณ์ผู้ดูแลเด็กจำนวน 179 คนตามแบบสอบถามที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วย Chi-square test และ Multiple Logistic Regression ผู้ดูแลเด็กส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง และเป็นมารดาของเด็ก 46.93% ของผู้ดูแลเด็กจบการศึกษาระดับมัธยมตอนต้น หรือสูงกว่า 39.11% มีรายได้ครอบครัวน้อย มากกว่า ครึ่งหนึ่งของผู้ดูแลเด็กความรู้เกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วงในระดับปานกลาง 49.16% ของผู้ดูแลเด็ก มีการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง 88% เชื่อว่าฟันน้ำนมที่ขึ้นซี่แรกสามารถเป็นสาเหตุของการเกิดโรคอุจจาระร่วงในเด็กได้ เด็กส่วนใหญ่มีอายุ 37-48 เดือน 82.68% ของเด็ก มีน้ำหนักแรกเกิดปกติ และ 46.33%ได้กินนมมารดาอย่างเดียว เด็กส่วนใหญ่ไม่เป็นโรคอุจจาระร่วงในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมา มีเพียง 20.67% ที่เป็น 1 ครั้งและมีเพียง 0.56% ที่เป็น 2 ครั้ง 86.84% เป็นโรคอุจจาระร่วงแบบถ่ายเป็นน้ำ โรคอุจจาระร่วงในเด็กพบมากในกลุ่มที่ผู้ดูแดเด็กอายุมากกว่า หรือเท่ากับ 30 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาและมีกาปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอุจจาระร่วง เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่ามาตราฐาน และไม่ได้รับนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรก พบว่ามีสัดส่วนการเป็นโรคอุจจาระร่วงได้สูง แต่ความสัมพันธ์นี้ไม่พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอุจจาระร่วงอย่างนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การใช้ภาชนะเก็บน้ำดื่มที่ไม่สะอาด (O.R.= 2.53,95% CI = 1.12 - 5.73)และการมีสิ่งกีดขวางการระบายน้ำดื่มรอบบริเวณบ้าน(O.R.= 2.12,95% CI = 1.02 - 4.41)ควรมีการส่งเสริมให้ประชาชนใช้ภาชนะที่สะอาดในการเก็บน้ำดื่ม และการดูแลไม่ให้มีสิ่งกีดขวางการระบายของน้ำรอบบริเวณบ้าน การมีระบบระบายของเสียที่ดีน่าจะส่งผลต่อการป้องกันการเกิดโรคอุจจาระร่วงได้ในระยะยาว