Publication: Determinants of tobacco smoking among presumptive TB patients in Taungoo Township, Myanmar
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 15, No.3 (Sep-Dec 2017), 33-50
Suggested Citation
Kyaw Hsan Tun, Seo Ah Hong, Jiraporn Chompikul, จอ ซาน ตุน, โซ อะ หงษ์, จิราพร ชมพิกุล Determinants of tobacco smoking among presumptive TB patients in Taungoo Township, Myanmar. Journal of Public Health and Development. Vol. 15, No.3 (Sep-Dec 2017), 33-50. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62162
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Determinants of tobacco smoking among presumptive TB patients in Taungoo Township, Myanmar
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้สงสัย วัณโรคในเมืองเต๋างู ประเทศพม่า
Other Contributor(s)
Abstract
A hospital-based cross-sectional study was conducted in Taungoo Township, Myanmar to examine prevalence and
determinants of current tobacco smokers among presumptive TB patients aged 18 years and above. A total of 400
presumptive TB patients which was drawn by purposive sampling were face-to-face interviewed using a structured
questionnaire in April, 2017. The questionnaire had three parts: socio-demographic factors, socio-environmental
factors and psycho-social factors based on social cognitive theory. Harmful alcohol drinking and mental distress
were measured by using Alcohol Use Disorders Identification Test (AUDIT-C) and Kessler Psychological Distress
Scale (K-10), respectively. Current tobacco smokers, the outcome measure were identified based on questionnaires
of Global Adult Tobacco Survey (GATS). Chi-square test and multiple logistic regression were used to examine
determinants of tobacco smoking.
Prevalence of current tobacco smokers was 54%. In multiple logistic regression, factors significantly associated
with tobacco smoking were sex (Adj OR=4.65, 95%CI=2.14-10.12 for men compared to women), education
levels (Adj OR=3.89, 95%CI=1.19-12.65 for middle or high school and Adj OR=4.39, 95%CI=1.22-15.77 for
primary school or less compared to college or university), income (Adj OR=3.05, 95%CI=1.42-6.54 for middle
income compared to low income), marital status (Adj OR=1.97, 95%CI=1.01-3.81 for living without a spouse
compared to living with a spouse), harmful alcohol drinking (Adj OR=3.42, 95%CI=1.77-6.60), mental distress
(Adj OR=2.97, 95%CI=1.12-7.89), and knowledge about smoking hazards (Adj OR=4.94, 95%CI=2.49-9.76 for
middle level, and Adj OR=6.50, 95%CI=2.45-17.24 for low level compared to high level).
This study showed one in two presumptive TB patients were current smokers. Current smokers were particularly
male, from low socioeconomic status and had poor knowledge, lived alone, drank alcohol, and had mental distress.
This could help policy makers to identify people at risk of negative health outcomes of diseases, and promote the
tobacco cessation services with integrated alcohol intervention in health facilities as a component of TB program
in Myanmar.
การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางโดยใช้โรงพยาบาลเป็นฐานในการเก็บรวบรวมข้อมูลในเมืองเต๋างู ประเทศพม่า เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้สงสัยวัณโรคที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ผู้สงสัยว่าจะป่วยเป็นวัณโรค จำนวน 400 คนที่สุ่มได้โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงในเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2560 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีโครงสร้างด้วยการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว แบบสอบถามมีสามส่วน ได้แก่ ปัจจัยทางสังคมประชากร ปัจจัยทางสังคมสิ่งแวดล้อม และปัจจัยทางจิตสังคมที่เกิดจากทฤษฎีปัญญาสังคม สำหรับการดื่มแอลกอฮอล์ที่เป็นอันตรายและความทุกข์ทางจิตใจวัดโดยใช้การทดสอบ Alcohol Use Disorders Identification Test (AUDIT-C) และ Kessler Psychological Distress Scale (K-10) ผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบันได้รับการวัดผลตามแบบสอบถามของ Global Tobacco Survey (GATS) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์ และการถดถอยลอจิสติกพหุคูณเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้สงสัยวัณโรค ความชุกของผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบันเป็น 54% ผลการวิเคราะห์ด้วยการถดถอยลอจิสติคพหุคูณพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ในปัจจุบันอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ เพศ (Adj OR = 4.65, 95% CI = 2.14-10.12 ผู้ชายเปรียบเทียบกับผู้หญิง) กํารศึกษํา(Adj OR = 3.89, 95% CI = 1.19-12.65 สำหรับการศึกษาระดับมัธยม Adj OR = 4.39, 95% CI = 1.22-15.77 สำหรับการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่าเปรียบเทียบกับวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย) รํายได้(Adj OR = 3.05, 95% CI = 1.42-6.54 รายได้ปานกลางเปรียบเทียบกับรายได้ต่ำ) สถํานภําพสมรส(Adj OR = 1.97, 95% CI = 1.01-3.81 ผู้ที่ไม่ได้อยู่กับคู่สมรสเปรียบเทีบกับผู้ที่อยู่กับคู่สมรส) กํารดื่มแอลกอฮอล์ที่เป็นอันตรําย (Adj OR = 3.42, 95% CI = 1.77-6.60) ควํามทุกข์ทํางจิตใจ(Adj OR = 2.97, 95% CI = 1.12-7.89) และควํามรู้เกี่ยวกับอันตรํายจํากกํารสูบบุหรี่ (Adj OR = 4.94, 95% CI = 2.49-9.76 สำหรับความรู้ปานกลางและ Adj OR = 6.50, 95% CI = 2.45-17.24 สำหรับความรู้น้อยเปรียบเทียบกับความรู้สูง) การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าประมาณ 1 ใน 2 รายของผู้สงสัยวัณโรคเป็นผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบัน กลุ่มเสี่ยงเป็นเพศชาย มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำและมีความรู้น้อย มีสถานภาพสมรสโสด/แยก/หย้า/หม้าย ดื่มแอลกอฮอล์ และมีความทุกข์ทางจิตใจ ผลการศึกษานี้จะช่วยให้ผู้กำหนดนโยบายสามารถระบุบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการมีภาวะสุขภาพเสี่ยงต่อการเกิดโรค และควรส่งเสริมการให้บริการเลิกสูบบุหรี่พร้อมด้วยการเลิกดื่มแอลกอฮอล์แบบบูรณาการในกลุ่มเสี่ยงนี้ในสถานบริการสาธารณสุขซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวัณโรคในประเทศพม่า
การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางโดยใช้โรงพยาบาลเป็นฐานในการเก็บรวบรวมข้อมูลในเมืองเต๋างู ประเทศพม่า เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้สงสัยวัณโรคที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป ผู้สงสัยว่าจะป่วยเป็นวัณโรค จำนวน 400 คนที่สุ่มได้โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงในเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2560 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีโครงสร้างด้วยการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว แบบสอบถามมีสามส่วน ได้แก่ ปัจจัยทางสังคมประชากร ปัจจัยทางสังคมสิ่งแวดล้อม และปัจจัยทางจิตสังคมที่เกิดจากทฤษฎีปัญญาสังคม สำหรับการดื่มแอลกอฮอล์ที่เป็นอันตรายและความทุกข์ทางจิตใจวัดโดยใช้การทดสอบ Alcohol Use Disorders Identification Test (AUDIT-C) และ Kessler Psychological Distress Scale (K-10) ผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบันได้รับการวัดผลตามแบบสอบถามของ Global Tobacco Survey (GATS) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์ และการถดถอยลอจิสติกพหุคูณเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้สงสัยวัณโรค ความชุกของผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบันเป็น 54% ผลการวิเคราะห์ด้วยการถดถอยลอจิสติคพหุคูณพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่ในปัจจุบันอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ เพศ (Adj OR = 4.65, 95% CI = 2.14-10.12 ผู้ชายเปรียบเทียบกับผู้หญิง) กํารศึกษํา(Adj OR = 3.89, 95% CI = 1.19-12.65 สำหรับการศึกษาระดับมัธยม Adj OR = 4.39, 95% CI = 1.22-15.77 สำหรับการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่าเปรียบเทียบกับวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย) รํายได้(Adj OR = 3.05, 95% CI = 1.42-6.54 รายได้ปานกลางเปรียบเทียบกับรายได้ต่ำ) สถํานภําพสมรส(Adj OR = 1.97, 95% CI = 1.01-3.81 ผู้ที่ไม่ได้อยู่กับคู่สมรสเปรียบเทีบกับผู้ที่อยู่กับคู่สมรส) กํารดื่มแอลกอฮอล์ที่เป็นอันตรําย (Adj OR = 3.42, 95% CI = 1.77-6.60) ควํามทุกข์ทํางจิตใจ(Adj OR = 2.97, 95% CI = 1.12-7.89) และควํามรู้เกี่ยวกับอันตรํายจํากกํารสูบบุหรี่ (Adj OR = 4.94, 95% CI = 2.49-9.76 สำหรับความรู้ปานกลางและ Adj OR = 6.50, 95% CI = 2.45-17.24 สำหรับความรู้น้อยเปรียบเทียบกับความรู้สูง) การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าประมาณ 1 ใน 2 รายของผู้สงสัยวัณโรคเป็นผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบัน กลุ่มเสี่ยงเป็นเพศชาย มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำและมีความรู้น้อย มีสถานภาพสมรสโสด/แยก/หย้า/หม้าย ดื่มแอลกอฮอล์ และมีความทุกข์ทางจิตใจ ผลการศึกษานี้จะช่วยให้ผู้กำหนดนโยบายสามารถระบุบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการมีภาวะสุขภาพเสี่ยงต่อการเกิดโรค และควรส่งเสริมการให้บริการเลิกสูบบุหรี่พร้อมด้วยการเลิกดื่มแอลกอฮอล์แบบบูรณาการในกลุ่มเสี่ยงนี้ในสถานบริการสาธารณสุขซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวัณโรคในประเทศพม่า