Publication: Analysis of Master Plan for the World Heritage Sites in Thailand: A Documentary Research
Issued Date
2021
Resource Type
Language
eng
ISSN
1513-8429
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Social Sciences and Humanities Mahidol University
Tourism and Hospitality Management Division Mahidol University International College Mahidol University
Tourism and Hospitality Management Division Mahidol University International College Mahidol University
Bibliographic Citation
Interdisciplinary Studies Journal. Vol. 21 No. 2 (Jul - Dec 2021), 2-28
Suggested Citation
Pattarachit Choompol Gozzoli, Roberto Bruno Gozzoli Analysis of Master Plan for the World Heritage Sites in Thailand: A Documentary Research. Interdisciplinary Studies Journal. Vol. 21 No. 2 (Jul - Dec 2021), 2-28. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72038
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Analysis of Master Plan for the World Heritage Sites in Thailand: A Documentary Research
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์แผนแม่บทของแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย: การวิจัยเชิงเอกสาร
Abstract
The paper is a discussion of the United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization—UNESCO cultural sites in Thailand (focusing on Sukhothai, and Ayutthaya) , based both on their historical and tourism master plans. Applying textual analysis methodology to those documents, they demonstrate how historical and cultural events determined heritage policies during early 1960s up to now. Those policies also shaped in the Heritage and Tourism master plans of those sites, which lead to gentrification of the heritage, the actual Heritagescape, as well as an educational perspective of the heritage sites. But the Heritagescape and tourism enhancement should not have been the main aims for the registration to the World Heritage list, but protection of the heritage sites for future generations.
บทความนี้เป็นการอภิปรายเกี่ยวกับสถานที่ทางวัฒนธรรมขององค์การยูเนสโก (สุโขทัยและอยุธยา) ตามแผนแม่บททางประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยว การอภิปรายกล่าวเป็นนัยว่าเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมกำหนดนโยบายมรดกโลกในช่วงต้นทศวรรษ 1960 จนถึงปัจจุบัน รวมทั้งได้กำหนดรูปแบบไว้ในแผนแม่บทมรดกและการท่องเที่ยวของสถานที่เหล่านั้น นโยบายเหล่านี้นำไปสู่การกำหนดลักษณะทางกายภาพของมรดกโลก (heritagescape) ตลอดจนร่วมกำหนดประเด็นด้านการศึกษาของแหล่งมรดกโลก นอกจากนั้นนโยบายการจัดการมรดกโลก หรือแผนแม่บทเป็นการกำหนดจากบนลงล่าง ได้มีการกำหนดอย่างมีนัยสำคัญถึงการไม่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการกำหนดชะตากรรมของพวกเขาเอง
บทความนี้เป็นการอภิปรายเกี่ยวกับสถานที่ทางวัฒนธรรมขององค์การยูเนสโก (สุโขทัยและอยุธยา) ตามแผนแม่บททางประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยว การอภิปรายกล่าวเป็นนัยว่าเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมกำหนดนโยบายมรดกโลกในช่วงต้นทศวรรษ 1960 จนถึงปัจจุบัน รวมทั้งได้กำหนดรูปแบบไว้ในแผนแม่บทมรดกและการท่องเที่ยวของสถานที่เหล่านั้น นโยบายเหล่านี้นำไปสู่การกำหนดลักษณะทางกายภาพของมรดกโลก (heritagescape) ตลอดจนร่วมกำหนดประเด็นด้านการศึกษาของแหล่งมรดกโลก นอกจากนั้นนโยบายการจัดการมรดกโลก หรือแผนแม่บทเป็นการกำหนดจากบนลงล่าง ได้มีการกำหนดอย่างมีนัยสำคัญถึงการไม่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นในการกำหนดชะตากรรมของพวกเขาเอง